Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78659
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิยตา กาวีวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ชญานิศ นิรชรกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-19T08:29:19Z | - |
dc.date.available | 2023-08-19T08:29:19Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78659 | - |
dc.description.abstract | The Purposes of this independent study were to investigate consumer behavior and factors of service marketing mix (7Ps) towards selecting electrical supply stores in Chiang Mai province. The sample was using convenience sampling method. The instruments used questionnaire for collect data from 384 people in Chiang Mai who got service from electrical supply stores in Chiang Mai province with in the duration of the perior less than 1 year. Data was analyed by using descriptive statistics namely frequency, percentage, mean and standard deviation, and using Inferential Statistics namely Chi-square and Multiple Linear Regression. The results of the study consumer behavior found that most respondents were males aged 31- 40 years old, their occupation was contractor, Type of electrical device that they buy is lamps/light bulbs, the purpose of purchase was for repair, decisions by themself, choosed electrical supply stores for purchasing electrical devices, their visit the store 2-3 time per week and period for visit the store depended on the occasion, retail purchases and used cash for purchase. Furthermore, when investigate the relationship between customer behavior and personal factor occupation of customer in Chiang Mai province, it was found that selection electrical supply stores of contractor occupation and non-contractor occupation are diffrences. With the significant statistic level at 0.05 The results of the study factors of service marketing mix (7Ps) towards selecting electrical supply stores in Chiang Mai province found that the factors of the service marketing mix (7Ps) are highly involved in customers selection of electrical supply stores in Chiang Mai province. Which the factors of the service marketing mix (7Ps) involved in customers selection of electrical supply stores in Chiang Mai province were physical environment(X6), price(X2), process (X7), and people(X5) could write the predictive equation as selection of electrical supply stores = 0.64 + 0.21 (X2) + 0.15 (X5) + 0.30 (X6) + 0.16 (X7). With the significant statistic level at 0.05 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | พฤติกรรมการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Consumer behavior towards selecting electrical supply stores in Chiang Mai province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | อุปกรณ์ไฟฟ้า | - |
thailis.controlvocab.thash | ร้านค้า | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้า และศึกษาส่วนประสมการตลาดบริการ 7Ps ที่มีผลต่อการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นคนเชียงใหม่ที่เคยเข้าใช้บริการร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในระยะเวลา 1 ปี จำนวน 384 ราย จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างตามความสะดวกจากการตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square) และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression) ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ช่วงอายุระหว่าง 31-40 ปี ประกอบอาชีพผู้รับเหมา ซื้ออุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทโคมไฟ/หลอดไฟ มีวัตถุประสงค์ในการซื้อเพื่อซ่อมแซม บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าคือตนเอง โดยเลือกซื้อสินค้าที่ร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้า ระยะเวลาในการเข้าใช้บริการคือ สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ไม่มีช่วงเวลาในการเข้าใช้บริการที่แน่นอนแล้วแต่โอกาส นิยมซื้อสินค้าแบบซื้อปลีก และชำระเงินด้วยเงินสด และเมื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าและปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพผู้รับเหมาและไม่ใช่ผู้รับเหมาของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่พบว่าการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าของอาชีพผู้รับเหมาและไม่ใช่ผู้รับเหมามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาส่วนประสมการตลาดบริการ 7Ps ที่มีผลต่อการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้า พบว่าส่วนประสมการตลาดบริการ 7Ps ที่มีผลต่อการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งมีตัวแปรส่วนประสมการตลาดบริการ 7Ps ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (X6) ด้านราคา (X2) ด้านกระบวนการให้บริการ (X7) และด้านบุคคล (X5) สามารถนำมาเขียนสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ การเลือกร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้า = 0.64 + 0.21 (X2) + 0.15 (X5) + 0.30 (X6) + 0.16 (X7) | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631532044-ชญานิศ นิรชรกุล.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.