Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิดา อดิภัทรนันท์-
dc.contributor.advisorนันทิยา แสงสิน-
dc.contributor.authorกฤติพร จินะราชen_US
dc.date.accessioned2023-08-19T08:14:27Z-
dc.date.available2023-08-19T08:14:27Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78656-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to compare the students’ English reading ability before and after using active learning and to study the students’ English writing ability by using active learning. The samples in this study were students from 3 classrooms of grade tenth students at Prince Royal’s College (High School) in Chiang Mai. They were 30 students chosen by simple random sampling out of 3 classrooms’ population. The research instruments inlcuded 6 lessson plans with Active Learning techniques for 18 periods, 50 minutes each period, English reading ability test in multiple choices for 30 items, and English writing assessment criteria. The data were analyzed for mean, standard deviation, percentage, and t-test (Dependent). The findings were as follows: 1. The students’ English reading ability increased after using active learning at s statistically significant level of .05. 2. The students’ English writing ability passed the pre-set criteria after using active learning.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้การเรียนเชิงรุกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeUsing active learning to develop English reading and writing abilities among grade 10 studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ-
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา-
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนรู้เชิงรุกและเพื่อศึกษาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนโดยใช้การเรียนรู้เชิงรุก กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 3 ห้อง โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เพื่อหากลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 6 แผน รวมเป็น 18 คาบ คาบละ 50 นาที แบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และแบบประเมินความสามารถในการเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และ t-test (Dependent) ผลวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 2. ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษหลังเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
กฤติพร จินะราช 610232046.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.