Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78622
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชานนท์ ชิงชยานุรักษ์ | - |
dc.contributor.author | วิภากรณ์ ชัยวรรณ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-08T00:58:35Z | - |
dc.date.available | 2023-08-08T00:58:35Z | - |
dc.date.issued | 2022-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78622 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study is to examine the impact of financial transactions by QR code via digital channels on the performance of the branches in Chiang Mai during 2016 to 2019. The study was divided into two steps, 1) Measuring of total productivity growth and factors affecting overall productivity growth of branches in Chiang Mai. Using Malmquist's total growth factor productivity index number and Data Envelopment Analysis (DEA) method. The results of the study showed that all 36 branches in Chiang Mai had total productivity and TFP growth. For factors affecting total productivity growth, most branches had witnessed the technological changes and technical performance changes and 2) An Ordinary Least Square (OLS) analysis of the effect of financial transactions by QR code through digital channels of financial service providers of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives on an efficiency of the operations of branches in Chiang Mai. The results confirmed that using QR Code via digital channels of financial service providers of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives had a statistically significant correlation with the operating efficiency of branches in Chiang Mai. Therefore, when customers conduct their financial transactions with QR codes via digital channels, it can increase an efficiency of branch’s operations. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประเมินการให้บริการรหัสคิวอาร์ต่อประสิทธิภาพการดำาเนินงานของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ดาต้าเอ็นวิลอปเมนท์ | en_US |
dc.title.alternative | Assessment of QR code services on efficiency of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives branches in Chiang Mai Province using data envelopment analysis | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | คิวอาร์โคด | - |
thailis.controlvocab.thash | ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร- -เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การวิเคราะห์วางกรอบข้อมูล | - |
thailis.controlvocab.thash | การโปรแกรมเชิงเส้น | - |
thailis.controlvocab.thash | การวิเคราะห์ตัวแปรพหุ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการทำธุรกรรมทางการเงินด้วยรหัสคิวอาร์ (QR Code) ผ่านช่องทางดิจิทัลของผู้ให้บริการทางการเงินของธนาคารต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสาขาในจังหวัดเชียงใหม่โดยใช้ช้อมูลในช่วงปีบัญชีพ.ศ. 2539 - 2562 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ 1) การวัดการเติบโตของผลิตภาพปัจจัยรวมและองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเติบโตของผลิตภาพปัจจัยรวมของสาขาของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในจังหวัดเชียงใหม่โดยใช้เลขดัชนีผลิตภาพการเติบโตปัจจัยรวมตามแนวทางของ Malmquist ทางด้านผลผลิต (Output-oriented) และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธี Data Envelopment Analysis (DEA) ผลการศึกษา พบว่า สาขาในจังหวัดเชียงใหม่จำนวนทั้งหมด 36 สาขา ในช่วงปีบัญชีพ.ศ. 2559 – 2562 พบว่าการเติบโตของผลิตภาพปัจจัยรวมมีการเติบโตอย่างก้าวหน้า (TFP Progress) และในด้านองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเติบโตของผลิตภาพปัจจัยรวม พบว่าสาขาโดยส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิคเป็นไปอย่างก้าวหน้า และ 2) การวิเคราะห์ผลกระทบของการทำธุรกรรมทางการเงินด้วยรหัสคิวอาร์ (QR Code) ผ่านช่องทางดิจิทัลของผู้ให้บริการทางการเงินของธนาคารต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสาขาในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคุณด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Square: OLS) ผลการศึกษาพบว่า การทำธุรกรรมทางการเงินด้วยรหัสคิวอาร์ (OR Code) ผ่านช่องทางดิจิทัลของผู้ให้บริการทางการเงินของธนาคารในจังหวัดเชียงใหม่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับประสิทธิภาพการดำเนินงานของสาขาในจังหวัดเชียงใหม่กล่าวคือ เมื่อผู้ใช้บริการมีการทำธุรกรรมทางการเงินด้วยรหัสคิวอาร์ (QR Code) ผ่านช่องทางดิจิทัลเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสาขาเพิ่มขึ้นไปด้วย | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601532229 วิภาภรณ์ ชัยวรรณ์.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.