Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญลักษณ์ พิชญกุล-
dc.contributor.authorนฤนาท จิตรภักดีen_US
dc.date.accessioned2023-07-26T14:20:33Z-
dc.date.available2023-07-26T14:20:33Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78599-
dc.description.abstractThis independent study aimed to study the behaviors of generation Z consumers in Mueang Chiang Mai District toward food delivery through mobile applications. The samples used in this research were a total of 3 8 5 generation Z populations residing in Mueang Chiang Mai District. An online questionnaire was a data collection instrument. Statistical data analysis was done through frequency, percentage, mean, two-way frequency table and Independent-Sample T test.The study found that, with regard to the consumer behaviors (1), the majority of respondents held the secondary school level or below and they were students. Most of them ordered Thai food for their main dishes with the average expenses of 101 -200 Baht/time per person. They preferred this service because it was convenient and less time-consuming for eating. They made a decision for such service by themselves and ordered the food for only one person. In general, consumers used the service from 12.01 to 6.00 p.m. from their apartments/condominiums through food delivery mobile applications with user-friendly features. With respect to the online marketing mix (2): (2.1) for Product, the respondents viewed that mobile applications with a variety of restaurants influenced their highest level of decision making; (2.2) for Price, they revealed that mobile applications with a suitable service rate influenced the highest level of their decision making; (2.3) for Place, they agreed that mobile applications with a suitable, user-friendly payment occupied the highest level of influence over their decision making; (2.4) for Promotion, they viewed that mobileen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของผู้บริโภคเจเนอเรชันแซดในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการใช้บริการสั่งอาหารแบบจัดส่งผ่านโมไบล์แอปพลิเคชันen_US
dc.title.alternativeConsumer behavior of generation z in Mueang Chiang Mai District towards using food delivery services via mobile applicationsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันแซด-
thailis.controlvocab.thashอาหาร -- การขนส่ง-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคเจเนอเรชันแซด ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการใช้บริการสั่งอาหารแบบจัดส่งผ่านโมไบล์แอปพลิเคชัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยในครั้งนี้คือ ประชากรเจเนอเรชันแซด ที่อาศัยอยู่ในอำเภอเมือง เชียงใหม่ จำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) การแจกแจง ความถี่จำแนก 2 ทาง (Two Way Frequency Table) และการทคสอบค่ทางสถิติ (Independent- Sample T test) ผลการศึกษาพบว่า (1) ด้านพฤติกรรมของผู้บริโภค พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มี ระดับการศึกษาสูงสุดมัธยมศึกษาหรือต่ำกว่า มีอาชีพเป็นนักศึกษา ส่วนใหญ่สั่งอาหาร ไทยเป็น อาหารจานหลัก มีค่าใช้ง่ายเฉลี่ย 101-200 บาท ต่อครั้งต่อคน ผู้บริโภคใช้บริการเนื่องจากมีสะดวก รวดเร็วต่อการรับประทาน ทำการตัดสินใจใช้บริการด้วยตัวเอง และสั่งมารับประทานคนเดียว ผู้บริโภคใช้บริการในช่วงเวลา 12.01 น. - 18.00 น จากหอพักคอนโดมิเนียม และเลือกใช้บริการสั่ง อาหารผ่านแอปพลิเคชันจากคุณสมบัติใช้งานง่าย (2) ส่วนประสมการตลาดออนไลน์ (2.1) ด้าน ผลิตภัณฑ์ ผู้ดอบแบบสอบถามเห็นว่าไมไบล์แอปพลิเกชันที่มีร้านอาหาร ให้เลือกหลากหลาย มีผล ต่อการตัดสินใจใช้บริการมากที่สุด (2.2) ด้านราคา ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าโมไบล์แอปพลิเคชัน ที่มีอัตราค่าบริการมีความเหมาะสมมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการมากที่สุด (2.3) ด้านช่องทางการ จัดจำหน่าย ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าโมไบล์แอปพลิเคชันที่สามารถชำระเงินได้สะดวกมีความ เหมาะสมมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการมากที่สุด (2.4) ด้านการส่งเสริมการตลาด ผู้ตอบ แบบสอบถามเห็นว่าโมไบล์แอปพลิคชันที่มีกิจกรรมส่งเสริมการตลาดอยู่สม่ำเสมอ เช่น มีส่วนลดให้ลูกค้าประจำ เป็นต้น มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการมากที่สุด (2.5) ด้านการให้บริการส่วนบุคคล ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าโมไบล์แอปพลิเคชันที่มีการแนะนำสินค้า บริการ หรือโปรโมชั่นที่ เหมาะสมกับผู้ใช้บริการมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการมากที่สุด (2.6) ด้านความเป็นส่วนตัว ผู้ตอบ แบบสอบถามเห็นว่าโมไบล์แอปพลิเคชันที่มีการปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผล ต่อการตัดสินใจใช้บริการมากที่สุดen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532067 นฤนาท จิตรภักดี.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.