Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโรจนา ธรรมจินดา-
dc.contributor.authorรมนก์ เตชวุฒิภัทรen_US
dc.date.accessioned2023-07-26T10:02:47Z-
dc.date.available2023-07-26T10:02:47Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78593-
dc.description.abstractThis study aimed to examine the feasibility of investing in garbage bag manufacturing machines of Plastic Dee Shop, Chiang Mai, and to analyze the worthiness of this investment. Data was collected from the survey results of 200 sets of questionnaires. Descriptive statistics: frequency, percentage, mean, and standard deviation were used to analyze the data; then, the information obtained was drawn to the marketing and feasibility studies, focusing on four components i.e. 1. marketing feasibility, 2. technical feasibility, 3. operational feasibility, and 4. financial feasibility. Given the results of the study on four feasibility components, the researcher could estimate the investment performance, balance sheet, statement of cash flow, and income statement, and be able to evaluate the profitability index, net present value: NPV, discount payback period: DPB, internal rate of return: IRR, and sensitivity analysis. Findings in the general information part revealed that most samples were females aged 25-35 years old and had an educational background in a bachelor's degree. They were business owners or middlemen and purchased the black garbage bags in packs at a frequency of once a month. In each purchase, they spent more than 10,000 Baht and purchased them from packaging shops or bakery equipment and supplies shops. In an overview, the opinions on the importance of the marketing mix affecting thedecision to purchase plastic garbage bags of these consumers were rated at a high level. The results of the study on the feasibility of investing in garbage bag manufacturing machines of Plastic Dee Shop, Chiang Mai suggested that the amount of early investment should be 2,500,000,000 (?) Baht. The investment period could be determined at 10 years with 15% of the required return rate per year. This investment could bring the net present value: NPV at 5,357,000,000.16 (?) Baht; the profitability index at 3.14 times; and the internal rate of return: IRR at 59.51%. The payback period of this project could be found at2 years 1 month and 28 days. In summary, the investment ingarbage bag manufacturing machines were feasible as the Plastic Dee Shop, Chiang Mai could earn an increase in profits and dividends every year. Based on the results of the feasibility study on relevant components, this investment should be accepted.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนในเครื่องจักรผลิตถุงขยะของร้านพลาสติกดีย์en_US
dc.title.alternativeA Feasibility study on the investment in garbage bag manufacturing machines of plastic Dee shopen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashถุงขยะ-
thailis.controlvocab.thashถุงขยะ—เครื่องจักรกล-
thailis.controlvocab.thashเครื่องจักรกล--การลงทุน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนเครื่องจักรผลิตถุงขยะ ร้านพลาสติกดีย์ จ.เชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปไห้ในการลงทุนเครื่องจักรผลิตถุงขยะ และเพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการลงทุน โดยการเก็บแบบสอบถามจำนวน 200 ชุด และนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำไปสู่การวิเคราะห์ด้านการตลาด และการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการตัดสินใจลงทุน ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1.ความเป็นไปได้ทางการตลาด 2. ความเป็นไปได้ทางเทคนิค 3. ความเป็นไปได้ทางการจัดการ 4. ความเป็นไปได้ทางการเงิน ผู้วิจัยนำข้อมูลการศึกษาความเป็นไปได้ทั้ง 4 ด้าน มาประมาณการได้แก่ ผลการดำเนินงาน, งบแสดงฐานะทางการเงิน, งบกระแสเงินสด และงบกำไรขาดทุน รวมถึง วิเคราะห์ ดัชนีกำไร มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ระยะเวลาคืนทุนคิดลด อัตราผลตอบแทนภายใน และการวิเคราะห์ความไวของโครงการ ผลการศึกษา พบว่า ข้อมูลทั่วไปกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 25-35 ปี ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สถานะในการซื้อ คือ เจ้าของกิจการหรือพ่อค้าคนกลาง ซื้อถุงขยะ แบบแพ็ก สีดำ ความถี่ในการซื้อ 1 ครั้งต่อเดือน มูลค่าการซื้อถุงขยะต่อครั้ง มากกว่า 10000 บาท และช่องทางในการซื้อถุงขยะ คือ ร้านขายบรรจุภัณฑ์หรือร้านจำหน่ายอุปกรณ์เบเกอรี่ โดยภาพรวมผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อถุงพลาสติกสำหรับบรรจุขยะของผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก และจากการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนเครื่องจักรผลิตถุงขยะ ร้านพลาสติกดีย์ จ.เชียงใหม่ โดยจะต้องมีเงินลงทุนเริ่มต้นที่ 2,500 พันบาท ระขะเวลาของโครงการ 10 ปี และกำหนดอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ 15 % ต่อปี มูลค่า ปัจจุบันสุทธิ เท่ากับ 5,357.16 พันบาท ดัชนีกำไร เท่ากับ 3.14 เท่า อัตราผลตอบแทนภายใน เท่ากับ 59.51% และมีระยะเวลาคืนทุนที่ 2 ปี 1 เดือน 28 วัน สรุปผลการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนเครื่องจักรผลิตถุงขยะ มีความเป็นไปได้ในการลงทุน โดยจะสร้างผลกำไรและเงินปันผลให้โรงงานผลิตถุงขยะของร้านพลาสติกดีย์ จ.เชียงใหม่ มากขึ้น ในทุกๆปี จึงควรยอมรับตัดสินใจในการลงทุนโครงการตามเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532067 รมนก์ เตชวุฒิภัทร.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.