Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78592
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พักตร์วิภา สุวรรณพรหม | - |
dc.contributor.advisor | ศิริตรี สุทธจิตต์ | - |
dc.contributor.author | รังสรรค์ ดาวจร | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-26T10:01:19Z | - |
dc.date.available | 2023-07-26T10:01:19Z | - |
dc.date.issued | 2022-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78592 | - |
dc.description.abstract | Access to medicines is a complex problem, especially for pediatric medicines. The lack of these medicines have resulted in off-label drug use. Hospital pharmacists play a critical role in the drug management system (DMS) to ensure that patients can access to essential medicines. The objective of this study was to explore the current DMS for pediatric medicines in public health facilities in Thailand which will lead to the further development of suggestions on the system. The study collected data from semi-structured interviews with 35 medical practitioners working in the public hospital network in Chiang Mai from February to September 2020. The questions mainly comprised topics on the pediatric drug system, the DMS for pediatric medicines in terms of selection, procurement, distribution and the promotion of rational drug use, and problems from participants’ work experiences in the DMS for pediatric medicines. A thematic analysis was conducted to analyze the collected data. This study found that access to pediatric medications is still limited. Although the DMS for general medications is effective in ensuring thatpatientsobtain required medicines for treatment, it has a gap for children medicinesdue to the lackofdedicatedpediatric systems. Pediatric medicines were not emphasized throughout the drug selection process due to the small patient’s population and commercial unavailability of suitable pediatric medicines. Consequently, medicine manipulation of adult dosage forms, such as extemporaneous preparations, splitting tablets or opening capsules for further compounding of freshly prepared medicines before administration by grinding and mixing with water or syrup, is inevitable. Without a standard formulation, pharmacists are required to prepare their own based on available resources and expertise. Due to the instability of compounded medicines, some were prepared and distributed weekly or monthly, while others provide tablets for adults with instructions for self-preparation before use. The development of a provincial collaboration network helps supports the current DMS for pediatric medicines. However, other system structures such as developing a national pediatric formulary or guidelines for pediatric medicine management are also crucial for sustainable improvement in the access to quality pediatric medicines. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | สถานการณ์การจัดการระบบยาสำหรับเด็กในสถานพยาบาลภาครัฐ: กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Situation of pediatric drug system management in public health sector: a case study of Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ระบบยา—เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ยา—เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | สถานบริการสุขภาพ—เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การเข้าถึงยาเป็นปัญหาที่ซับซ้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็ก ซึ่งการไม่มียาส่งผลให้มีการใช้ยานอกข้อบ่งใช้ การบริหารจัดการระบบยาเพื่อให้มั่นใจได้ว่าผู้ป่วยสามารถเข้าถึงยาที่จำเป็นเป็นบทบาทหลักของเภสัชกรในสถานพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสถานการณ์ระบบการจัดการยาสำหรับเด็กในโรงพยาบาลรัฐบาล ซึ่งเป็นสถานบริการสุขภาพหลักของประชาชนภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย เพื่อทำความเข้าใจถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบปัจจุบัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาข้อเสนอแนะในเชิงระบบต่อไป การศึกษาใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างดำเนินการกับบุคลากรทางการแพทย์ 35 คนที่ทำงานในเครือข่ายโรงพยาบาลของรัฐของจังหวัดเชียงใหม่ เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ ถึง กันยายน 2563 โดยในข้อคำถามจะประกอบด้วยคำถามหลักคือ ระบบยาเด็ก การบริหารจัดการระบบยาสำหรับเด็ก ทั้งในการคัดเลือก จัดหา กระจาย และการสนับสนุนการใช้ยาอย่างสมเหตุผล และปัญหาที่เกิดจากประสบการณ์ในการจัดการยาสำหรับเด็กของผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลถูกนำมาวิเคราะห์แบบแก่นสาระผลการวิจัยพบว่าการเข้าถึงยาสำหรับเด็กยังมีข้อจำกัด โดยเฉพาะในโรงพยาบาลที่ไม่มีกุมารแพทย์แม้ว่าระบบจะทำงานอย่างมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการยาทั่วไปเพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับบริการจะให้รับยาที่จำเป็นในการรักษาความเจ็บป่วย แต่ระบบดังกล่าวก็มีช่องว่างใบการเข้าถึงยาสำหรับเด็กเนื่องจากไม่มีระบบที่จำเพาะสำหรับยาเด็ก ดังนั้น ยาเด็กไม่อยู่ในลำดับความสำคัญของกระบวนการคัดเลือกยา ด้วยผู้ป่วยจำนวนไม่มากและยาบางรายการไม่มีจำหน่ายในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็ก การดัดแปลงรูปแบบยา (medicine manipulation) จากรูปแบบยาสำหรับผู้ใหญ่ เช่น การเตรียมยาเตรียมเฉพาะคราว (extemporancous preparations) แต่เนื่องจากไม่มีสูตรมาตรฐาน เภสัชกรจึงต้องจัดเตรียมขึ้นมาเองตามทรัพยากรและศักยภาพที่มีจึงมีการจัดทำและกระจายยาผลิตภัณฑ์ยาเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน เนื่องจากความไม่มั่นใจเรื่องความคงตัวของยาที่เตรียมได้ หรือส่งมอบยาเม็ดสำหรับผู้ใหญ่ เพื่อบด และผสมน้ำหรือน้ำหวานก่อนรับประทาน (freshly prepared) จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ พร้อมกับให้คำแนะนำในการเตรียมยาก่อนใช้ ด้วยการดัดแปลงรูปแบบยาให้กับผู้ปกครองหรือผู้ดูแล เครือข่ายการดำเนินงานระดับจังหวัด เป็นกลไกสนับสนุนการจัดการระบบยาสำหรับเด็กในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามผู้ให้บริการเสนอแนะให้มี มีการสนับสนุน โครงสร้างเชิงระบบ เช่น การจัดทำบัญชียาหลักแห่งชาติสำหรับเด็ก หรือแนวทางการจัดการยาสำหรับเด็ก เพื่อให้เกิดเข้าถึงยาที่มีคุณภาพของเด็กอย่างยั่งยืน | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601031006 รังสรรค์ ดาวจร.pdf | 17.2 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.