Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวิ รุ่งเรืองศรี-
dc.contributor.authorสุรกิจ เทพนากิจen_US
dc.date.accessioned2023-07-26T09:59:45Z-
dc.date.available2023-07-26T09:59:45Z-
dc.date.issued2021-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78591-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the influence of the perceived E-service quality on intention torepeating services of food delivery applications among consumers in Mueang Chiang Mai District. By using a questionnaire to collect data from a sample of 300 consumers who study, work or live in Mueang District of Chiang Mai Province and have used a food delivery application at least 1 time within 3 periods month. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation. and multiple regression analysis. The results showed that most of the respondents were female. Have an education level in the bachelor's level, single status, occupation as a student. Average monthly income is 20,001 -30,000 baht. Live at home. There are 2 food delivery applications on mobile phones or smartphones. The main application used is Grab Food. The time for ordering food is from 11:01 a.m. - 1:00 p.m., frequency of usage is 1-2 times a week. The average value per time to order food or beverages is 101 – 150 baht. Days chosen for service are Monday - Friday, with the main purpose of bringing their own food, which the type of product to order is Main meals such as noodles/rice/fast food. And the perceived E-service quality affects to the intention to repeating services of food delivery application of consumers in Mueang Chiang Mai District at a significance level of 0.05 by Efficiency. It had the greatest effect on the consumers' intention to repeating servicesof food deliveryapplication in Mueang Chiang Mai District as anoverall, followed by Fulfillment and Privacy. As for the System Availability, it does not affect the intention torepeating services of consumers in Mueang Chiang Mai District as an overallen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอิทธิพลของการรับรู้คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชันสั่งอาหารซ้ำของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeInfluence of perceived E-service quality on intention to repeat services of food delivery applications of consumers in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบริการอาหาร – เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค--เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่-
thailis.controlvocab.thashการส่งเสริมการขาย--เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการตลาด--เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำแอปพลิเคชันสั่งอาหารของกลุ่มผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ด้วยการสำรวจโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 คน ซึ่งเป็นผู้บริโภคที่เรียนทำงาน หรืออาศัยในพื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่และเคยใช้แอปพลิเคชันสั่งอาหารมาอย่างน้อย 1 ครั้งภายในระยะเวลา 3 เดือน โดยสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ศึกษาอยู่ในระดับชั้นปริญญาตรี สถานภาพโสด มือาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือนคือ 20,001 - 30,000 บาท พักอาศัยอยู่ที่บ้าน มีแอปพลิเคชันสั่งอาหารในมือถือหรือสมาร์ทโฟนจำนวน 2 แอปพลิเคชัน แอปพลิเคชันหลักที่ใช้คือ Grab Food ช่วงเวลาในการสั่งอาหารคือ 11.01-13.00 น. ความถี่ในการใช้บริการคือ 1 - 2 ครั้งต่อสัปดาห์ มูลค่าเฉลี่ยต่อครั้งในการสั่งอาหารหรือเครื่องดื่มคือ 101 - 150 บาท วันที่เลือกใช้บริการคือ วันจันทร์ - ศุกร์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนำมารับประทานเอง ซึ่งประเภทของผลิตภัณฑ์ที่เลือกสั่งคือ อาหารมื้อหลัก เช่น ก๋วยเตี๋ยว/ข้าว/Fast food โดยการรับรู้คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำแอปพลิเคชันสั่งอาหารของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยองค์ประกอบด้านประสิทธิภาพการใช้งาน มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำแอปพลิเคชันสั่งอาหารของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในภาพรวมมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการทำให้บรรลุเป้าหมาย และด้านความเป็นส่วนตัว ตามลำดับ ส่วนด้านความพร้อมของระบบไม่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการซ้ำของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในภาพรวมen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532019 สุรกิจ เทพนากิจ.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.