Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78556
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถพล สมุทคุปติ์-
dc.contributor.authorสุชีรา ทรัพย์พึ่งen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T13:37:15Z-
dc.date.available2023-07-22T13:37:15Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78556-
dc.description.abstractThis research objective is applying tool for supporting the decision making on selecting destination of two Defective Products by a case study company, a jewelry manufacturing company. (Define defective as Appearance Defective Products and Gem-related Defective Products) To find out the most appropriate criteria and the a destination of Defective Products by applying Fuzzy AHP Technique. 6 main criteria that has been used for the process selection were: Time, Cost, Final product of customer's acceptance, Working skills, Readiness to fix and Possibility to fix defective products for selecting 3 destinations which are rework, scrap and mixing (both rework and scrap). 5 Decision makers are persons who work in case study company. The result of Appearance Defective Products found that the rank of important weight of considered criteria are following, Final product of customer's acceptance, Working skills, Readiness to fix, Cost, Possibility to fix defective products and Time. The most appropriated destination is rework. The result of Gem-related Defective Products found that the rank of important weight of considered criteria are following, Final product of customer's acceptance, Cost, Possibility to fix defective products, Working skills, Readiness to fix and Time. The most appropriated destination is mixing (both rework and scrap)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินปลายทางของผลิตภัณฑ์บกพร่องโดยใช้เทคนิคฟัซซี่ เอเอชพีen_US
dc.title.alternativeDestination evaluation of defective products using Fuzzy AHP Techniqueen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมอุตสาหการ-
thailis.controlvocab.thashการตัดสินใจแบบฟัสซี-
thailis.controlvocab.thashโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานโลจิสติกส์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีจุดประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการประเมินปลายทาง ของสองผลิตภัณฑ์บกพร่องของบริษัทกรณีศึกษาซึ่งเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจในการผลิต เครื่องประดับ (ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะที่ปรากฏบกพร่อง และผลิตภัณฑ์บกพร่องที่เกี่ยวกับพลอย) เพื่อ หาเกณฑ์การพิจารณาที่มีอิทธิพลในการประเมินปลายทางของผลิตภัณฑ์บกพร่อง และเพื่อหาแนวทาง ในการตัดสินใจในการประเมินปลายทางของผลิตภัณฑ์บกพร่องที่เหมาะสมและนำไปสร้างรูปแบบ การดำเนินการของผลิตภัณฑ์บกพร่อง โดยการประชุกต์ใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงลำดับชั้นแบบฬซ ซี่ (Fuzzy Analytic Hierarchy Process ; FAHP) มาเป็นเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการตัดสินใจ 3 ปลายทาง ของผลิตภัณฑ์บกพร่อง คือ การนำงานกลับมาแก้ไข การกำจัดทิ้ง และรูปแบบผสมทั้งการนำงาน กลับมาแก้ไขและการกำจัดทิ้ง โดยพิจารณาภายใต้เกณฑ์การตัดสินทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทั้งหมด 6 เกณฑ์การพิจารณา คือ เวลา ต้นทุน การยอมรับผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ส่งถึงลูกค้า ความสามารถ ของช่างฝีมือ ความพร้อมในการนำงานกลับมาแก้ไข (Readiness และความเป็นไปได้ที่จะนำงาน กลับมาแก้ไข ซึ่งประเมินผ่านผู้ประเมินของบริษัทกรณีศึกษา 5 ท่าน ผลการวิเคราะห์ของผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะที่ปรากฏบกพร่องพบว่า ผู้ประเมินให้ค่าน้ำหนัก ความสำคัญกับเกณฑ์การพิจารณาตามลำดับดังนี้ การยอมรับผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ส่งถึงถูกค้า ความสามารถของช่างฝีมือ ความพร้อมในการนำงานกลับมาแก้ไข (Readiness) ต้นทุน ความเป็นไป ได้ที่จะนำงานกลับมาแก้ไข และเวลา ตามลำดับ เมื่อนำค่าน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์การพิจารณา มาคำนวณร่วมกับน้ำหนักความสำคัญของปลายทางภายใต้แต่ละเกณฑ์การพิจารณา ทำให้ได้ผลอันดับปลายทางของผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะที่ปรากฏบกพร่องที่มีความเหมาะสมที่สุดในภาพรวม คือ การนำงานกลับมาแก้ไข ผลการวิเคราะห์ของผลิตกัณฑ์บกพร่องที่เกี่ยวกับพลอยพบว่า ผู้ประเมินให้ค่าน้ำหนัก ความสำคัญกับเกณฑ์การพิจารณาตามลำดับดังนี้ การยอมรับผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ส่งถึงลูกค้า ต้นทุน ความเป็นไปได้ที่จะนำงานกลับมาแก้ไข ความสามารถของช่างฝีมือ ความพร้อมในการนำงานกลับมา แก้ไข (Readiness) และเวลา ตามลำดับ เมื่อนำค่น้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์การพิจารณามาคำนวณ ร่วมกับน้ำหนักความสำคัญของปลายทางภายใต้แต่ละเกณฑ์การพิจารณา ทำให้ได้ผลอันดับปลายทาง ของผลิตภัณฑ์บกพร่องที่เกี่ยวกับพลอยที่มีความเหมาะสมที่สุดในภาพรวม คือ รูปแบบผสมทั้งการนำ งานกลับมาแก้ไขและการกำจัดทิ้งen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610632012 สุชีรา ทรัพย์พึ่ง.pdf3.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.