Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78555
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ขำสุวรรณ์-
dc.contributor.authorพนภัทร ฐานานุกูลen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T13:26:47Z-
dc.date.available2023-07-22T13:26:47Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78555-
dc.description.abstractTo resolve power factor problems in the electrical systems. The capacitor banks are commonly used to improve power factor because they are efficient enough to improve power factor and have a lower cost than other power factor correction methods. Power factor correction with capacitor banks, on the other hand, has limitations in terms of improving power factor during load changes, and there may be issues with overvoltage or harmonic current amplification, resulting in electrical system damage. Because of its quick responsiveness and accuracy, an active power filter (APF) is one of the solutions to this problem. However, this strategy is most commonly used to handle harmonic problems in non- linear systems. This study modifies the active power filter technique in non-linear systems that can be used in linear systems by using the instantaneous reactive power method and the synchronous reference frame approach. With this method, the limitation of enhancing power factor in capacitors can be solved. This study additionally enhances current control over conventional methods that control current on a three-phase a-b-c reference frame by controlling current on a two-phase stationary frame in the instantancous reactive power method and a two-phase rotating frame in the synchronous reference frame method. When compared to conventional technique, this method can also save one PI controller while maintaining the same performance. The proposed approach is validated using simulation results on a three-phase IM motor load rated at 14.7 KVA 380 V with loads varying from no-load to full-load. As a result of using the proposed approach to manage the shunt APF, the utility source achieves unity power factor or power factor correction.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleตัวกรองกำลังแอกทีฟในระบบเชิงเส้นสำหรับการแก้ไขตัวประกอบกำลังen_US
dc.title.alternativeActive power filter in linear systems for power factor correctionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashคาปาซิเตอร์แบงค์-
thailis.controlvocab.thashระบบไม่เชิงเส้น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับตัวประกอบกำลังในระบบไฟฟ้เชิงเส้น นิยมใช้ชุดคาปาซิเตอร์ในการ ปรับปรุงตัวประกอบกำลังเพราะมีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการปรับปรุงและมีดันทุนต่ำกว่าการแก้ไข ตัวประกอบกำลังวิธีอื่น การแก้ไขตัวประกอบกำลังด้วยชุดคาปาซิเตอร์ ที่กล่าวมามีข้อจำกัดในการ ปรับปรุงตัวประกอบกำลังในขณะที่โหลดมีการเปลี่ยนแปลงและอาจทำให้เกิดปัญหาแรงดันเกินหรือ ปัญหาฮาร์มอนิก ส่งผลให้ระบบไฟฟ้เกิดความเสียหาย เนื่องจากการดอบสนองที่รวดเร็วและแม่นยำ วงจรกรองกำลังแอกที่ฟจึงเป็นหนึ่งในวิ ที่ใช้แก้ปัญหานี้ แต่อย่างไรก็ตามวิธีการนี้นิยมใช้จัดการกับ ปัญหาชาร์มอนิกในระบบที่ไม่เป็นเชิงเส้น ในงานวิจัยนี้มีการปรับปรุงเทคนิคของวงจรกรองกำลัง แอกที่ฟที่ใช้ในระบบที่ไม่เป็นเชิงเส้น มานำเสนอในระบบเชิงเส้น โดยใช้วิธีกำลังรีแอกที่ฟขณะหนึ่ง และวิธีกรอบอ้างอิงชิงโครนัส ด้วยวิธีการนี้จะสามารถแก้ไขข้อจำกัดของการปรับปรุงตัวประกอบ กำลังของวิธี ที่ใช้ชุดคาปาชิเดอร์ได้ อีกทั้งงานในวิจัยนี้ได้ปรับปรุงการควบคุมกระแสที่เหนือกว่า วิธีการแบบดั้งเดิมที่ ใช้การควบคุมกระแสในเฟรมอ้างอิงหยุดนิ่งสามเฟส เอ-บี-ชี ด้วยการนำมา ควบคุมในเฟรมอ้างอิงหยุดนิ่งสองเฟสสำหรับวิธีกำลังรีแอกที่ฟขณะหนึ่งและนำมาควบคุมในเฟรม อ้งอิงหมุนสองเฟสสำหรับวิธีกรอบอ้างอิงซิงโครนัส เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับวิธีการควบคุมกระแส แบบดั้งเดิม วิธีการนี้สามารถลดจำนวนตัวควบคุมพี่ไอได้ 1! ตัวโดยสมรรถนะในการปรับปรุงค่าตัว กอบกำลังเทีบเท่าวิธีการแบบดั้งเดิม วิธีการที่นำเสนอได้รับการตรวจสอบประสิทธิภาพและ ตรวจสอบความถูกต้องด้วยการจำลองในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยจำลองกับโหลดมอเตอร์ เหนี่ยวนำสามเฟส พิกัด 14.7 KVA 380 V จำลองในภาวะไดนามิก ในช่วงที่มอเตอร์ทำงานแบบไม่มี ภาระโหลดจนถึงช่วงที่มอเตอร์ทำงานที่ค่าพิกัดโหลด ผลจากการทำงานของวงจรกรองกำลังแอกทีฟ ที่ควบคุมด้วยวิธีการที่นำเสนอนั้น สามารถแก้ไขตัวประกอบกำลังด้านแหล่งจ่ายให้มีค่าเป็น 1 ได้en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631138 พนภัทร ฐานานุกูล.pdf8.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.