Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา-
dc.contributor.authorนพพล สมปันen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T08:05:56Z-
dc.date.available2023-07-22T08:05:56Z-
dc.date.issued2022-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78545-
dc.description.abstractThe objective of this research aims to study the readiness of entrepreneurs to produce coffee with HACCP criteria as well as to conduct the directions for the readiness of roasted coffee bean entrepreneurs in Chiang Mai Province into HACCP system. The research done by Survey Research with the tool called Self-Assessment. The methodology was applied with food hygiene CXC 1-1969 or GHP HACCP V.5 (re.01) and data collection from total 124 entrepreneurs of roasted coffee bean in Chiang Mai province who obtain GMP. However, only 111 entrepreneurs or 89.52% could perform Self-Assessment with HACCP system. Those were divided into 16 entrepreneurs as factory classification and 95 entrepreneurs as non-factory classification from 108 registered entrepreneurs. Then data information were analyzed by Descriptives Statistic which consist of Frequency and Percentage. The research found that most of entrepreneurs could not perform and follow HACCP both in fundamental and principle criteria. According to food hygiene standards, most of entrepreneurs could not perform in several aspects namely human resource and personal hygienic care, cleanliness, maintenance, disease carrier control and waste management as well as production process control. Regarding to the readiness into HACCP system, the research found 4 dimensions of percentage level as follow : - Human resource development (Man) was at 74.05% of readiness entrepreneurs which lower than 80% and 25.95% of non-readiness entrepreneurs. -Organization administration (Management) was highest at 82.75% of readiness entrepreneurs and 17.25% of non-readiness entrepreneurs. - Capital (Money) was at 80.43% of readiness entrepreneurs and 19.57% of non-readiness entrepreneurs. - Place and equipment management (Material) was at 80.20% of readiness entrepreneurs and 19.80% of non-readiness entrepreneurs. The research brought the recommendations for industrial promotion and suggested for public health institutions as well as entrepreneurs.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความพร้อมของผู้ประกอบการผลิตเมล็ดกาแฟคั่วจังหวัดเชียงใหม่ในการยกระดับมาตรฐานคุณภาพความปลอดภัยอาหารเข้าสู่ระบบ HACCPen_US
dc.title.alternativeReadiness of roasted coffee bean producers in Chiang Mai province to enhance quality and food safety standards according to HACCP Systemen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashผู้ประกอบการ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashกาแฟ -- เมล็ด-
thailis.controlvocab.thashกาแฟ -- มาตรฐาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความพร้อมของผู้ประกอบการผลิตเมล็ดกาแฟคั่วจังหวัดเชียงใหม่ในการยกระดับมาตรฐานคุณภาพความปลอดภัยอาหารเข้าสู่ระบบ HACCP โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เครื่องมือที่ใช้การศึกษา คือ แบบประเมินตนเอง (Self Assessment) ประยุกต์จากหลักการทั่วไปของสุขอนามัยอาหาร CXC 1-1969 หรือ GHP HACCP V.5 (re.01) ในการจัดเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการผลิตเมล็ดกาแฟคั่วที่สถานประกอบการเข้าข่ายโรงงาน จำนวน 16 ราย และสถานประกอบการที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน จำนวน 95 ราย จากจำนวน 108 ราย รวมทั้งสิ้น 111 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.52 จากประชากรทั้งหมด 124 ราย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ประกอบด้วย ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) ผลการศึกษาสรุปได้ว่า สถานประกอบการจำนวนมากยังไม่สามารถดำเนินการได้ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการวิเคราะห์อันตรายและกำหนดจุดวิกฤต (HACCP) ทั้งในขั้นตอนพื้นฐานและในหลักการของระบบนั้น และในส่วนของการปฏิบัติตามมาตรฐานหลักสุขลักษณะที่ดีสำหรับอาหารนั้น ในหมวดที่ยังมีสถานประกอบการจำนวนมากยังไม่ปฏิบัติ ได้แก่ 1)หมวดการบุคลากร และสุขลักษณะส่วนบุคคล 2) หมวดความสะอาด การซ่อมบำรุง การควบคุมสัตว์พาหะ และการจัดการขยะ และ 3) หมวดควบคุมกระบวนการผลิต และในการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ระบบ พบว่า มีเพียงด้านเดียวที่ยังเตรียมความพร้อม ต่ำกว่าร้อยละ 80 ได้แก่ - ด้านการพัฒนาบุคลากร (Man) ซึ่งมีสถานประกอบการเตรียมความพร้อม 74.05 ในขณะที่มีผู้ไม่เตรียมความพร้อม 25.95 - ด้านการบริหารจัดการองค์กร (Management) มีการเตรียมความพร้อมมากที่สุด โดยมีสถานประกอบการเตรียมความพร้อม 82.75 ในขณะที่มีผู้ไม่เตรียมความพร้อม 17.25 - ด้านเงินทุน (Money) มีการเตรียมความพร้อม 80.43 ในขณะที่มีผู้ไม่เตรียมความพร้อม 19.57 และ - ด้านการจัดการสถานที่และอุปกรณ์ (Material) มีสถานประกอบการเตรียมความพร้อม 80.20 ในขณะที่มีผู้ไม่เตรียมความพร้อม 19.80 และการศึกษานี้ ได้ข้อเสนอแนะใน การส่งเสริมผู้ประกอบการในด้านต่าง ๆ ข้อเสนอแนะสำหรับหน่วยงานสาธารณสุข ตลอดจนข้อเสนอแนะสำหรับผู้ประกอบการen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532031 นพพล สมปัน.pdf10.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.