Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78544
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา-
dc.contributor.authorอติวิชญ์ เชาว์วุฒิมาen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T08:00:36Z-
dc.date.available2023-07-22T08:00:36Z-
dc.date.issued2022-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78544-
dc.description.abstractThis study aimed to determine customer satisfaction through the comparison of customer perception and expectation towards service quality of Homikitch Company Limited, the interior design and furniture manufacturing business. Population of this study included the customers of Homikitch Company Limited. The total of 190 samples, consisting of 100 Thais and 90 foreigners, were identified by the quota sampling method. Questionnaires were used as the tool to collect data. Data obtained were analyzed by the descriptive statistics i.e frequency, percentage, mean, and standard deviation. The inferential statistics i.e t-test for dependent samples was also applied to compare levels of customer perception and expectation towards service quality of Homikich Company Limited. Results of the study on general background of the samples presented that most of them were male, aged 30-40 years old, and earned monthly income in a range of 150,001-250,000 Baht. In a family, there were 4-6 members. They mostly ordered the kitchen furniture set with installation service within the budget of 100,001-300,000 Baht for a 5-15 square meter-kitchen of their private house. Results of the comparative study between levels of Thai customers’ expectation and their perception towards service quality of the studied company were presented as follows. In terms of responsiveness and assurance, levels of expectation and perception were differently observed at the .01 level of statistical significance: the level of perception was higher than the level of expectation. In terms of tangibles and reliability, level of perception was higher than the level of expectation at non-statistical significance level. In terms of attentiveness, level of expectation and level of perception were differently observed at the .01 level of statistical significance: the level of perception was lower than the level of expectation at the .01 level of statistical significance. Results of the comparative study between levels of foreign customers’ expectation and their perception towards service quality of the studied company were presented that levels of expectation and perception in all service quality approaches i.e tangibles, reliability, responsiveness, assurance, and attentiveness were differently observed at the .01 level of statistical significance: the level of perception was higher than the level of expectation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อคุณภาพการบริการของบริษัท โฮมมีคิช จำกัดen_US
dc.title.alternativeCustomer satisfaction towards service quality of Homikitch Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashความพอใจ-
thailis.controlvocab.thashการรับรู้-
thailis.controlvocab.thashบริษัท โฮมมีคิช จำกัด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจด้วยการเปรียบเทียบระดับการรับรู้กับความคาดหวังของลูกค้าต่อธุรกิจการตกแต่งภายในและผลิตเฟอร์นิเจอร์ บริษัท โฮมมีคิช จำกัด ประชากร ได้แก่ ลูกค้าที่เคยใช้บริการธุรกิจการตกแต่งภายในและผลิตเฟอร์นิเจอร์ บริษัท โฮมมีคิช จำกัด ได้กลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบกำหนดโควต้า ทั้งสิ้น 190 คน เป็นกลุ่มตัวอย่างชาวไทย 100 คน กลุ่มตัวอย่างชาวต่างชาติ 90 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-test for dependent Samples ใช้ในการเปรียบเทียบระดับการรับรู้กับความคาดหวังของลูกค้าต่อธุรกิจการตกแต่งภายในและผลิตเฟอร์นิเจอร์ บริษัท โฮมมีคิช จำกัด ผลการศึกษา พบว่า ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่เป็นชาย อายุ 30-40 ปี รายได้ต่อเดือนอยู่ในช่วง 150,001-250,000 บาท จำนวนสมาชิกในครอบครัว 4-6 คน ส่วนใหญ่สั่งผลิตและติดตั้งชุดชุดห้องครัวมากที่สุด โดยให้ติดตั้งในบ้านส่วนตัว พื้นที่ติดตั้ง 5-15 ตารางเมตร งบประมาณที่ใช้ 100,001-300,000 บาท ผลการเปรียบเทียบระดับความคาดหวังกับระดับการรับรู้ของลูกค้าชาวไทยต่อคุณภาพการให้บริการ พบว่า ด้านการตอบสนองลูกค้า ด้านการให้ความมั่นใจ ระดับความคาดหวังกับระดับการรับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 โดยระดับการรับรู้สูงกว่าระดับความคาดหวัง ส่วนในด้านรูปธรรมการบริการ และด้านความน่าเชื่อถือ ระดับการรับรู้สูงกว่าระดับความคาดหวังอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนในด้านการดูแลเอาใจใส่ ระดับความคาดหวังกับระดับการรับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 โดยระดับการรับรู้ต่ำกว่าระดับความคาดหวังอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ส่วนลูกค้าต่างชาติ พบว่า คุณภาพการให้บริการทุกด้าน ได้แก่ ด้านรูปธรรมการบริการ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองลูกค้า ด้านการให้ความมั่นใจ และด้านการดูแลเอาใจใส่ใส่ ระดับความคาดหวังกับระดับการรับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 โดยระดับการรับรู้สูงกว่าระดับความคาดหวังen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532051 อติวิชญ์ เชาว์วุฒิมา.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.