Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78539
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nongluck kienngam | - |
dc.contributor.advisor | Somkiart Intasingh | - |
dc.contributor.advisor | Chetthapoom Wannapaisan | - |
dc.contributor.author | Chonthicha Tipduangta | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-22T06:56:23Z | - |
dc.date.available | 2023-07-22T06:56:23Z | - |
dc.date.issued | 2021-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78539 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1 ) study conditions, problems and the needs of development local curriculum using community participation-based learning to enhance creative thinking and respectful mind of elementary students, 2) create and find quality of local curriculum using community participation-based learning to enhance creative thinking and respectful mind for elementary students, and 3 ) study the effect of using local curriculum using community participation-based learning to enhance creative thinking and respectful mind for elementary students. The target group includes: three directors of schools, three teachers of Occupations ( Wat Sri Suphan Municipal School, Wat Puak Chang Municipal School and Wat Sri Ping Mueang Municipal School), grade 4-6 students of Wat Sri Suphan Municipal School, overalls were 80 students, 5 parents of the students, 4 local wisdom teachers of Silver, and 2 silver business entrepreneurs, a total of 97 people, selected by using purposive sampling. The instruments used in this research consisted: 1) structured interview form, 2) unstructured interview form, 3) focus group record form, 4) local curriculum outline assessment form, 5) creative thinking scale, and 6) respectful mind scale. For data analysis, content analysis was used to analyze the qualitative data while quantitative data were analyzed by using arithmetic mean, and standard deviation The results of this research were the conditions of local curriculum development, school directors and teachers in the schools all agreed that local occupational education curriculums should be enhanced through community participation-based learning and be able to enhance creative thinking and respectful mind. The part of problems faced by local curriculum development, teachers agreed: the planning problems, caused by a lack of community funding and the failure to set school hours, meet the needs of the community and the problem affected classroom management as all silver teaching equipment was lack of funding. The part of students agreed that the problem of teaching and learning. The timing of the activities was inappropriate. For the needs of local curriculum development, for creative need, the target group agreed that they felt silver or aluminum products should be designed to create added value and potentially lead to future careers in the community, for the respectful mind and the community participation-based learning, teachers, local folk wisdom teachers and students agreed that they should be able to preserve and inherit the wisdom to make silver products. Local curriculum creation results have made the subject of wisdom of silverware an additional course of occupational subject group for grade 4-6, and in each level, 40 hours, total of 120 hours. For finding quality local curriculum by five local curriculum experts, the results showed that the local curriculum was consistent at the highest level. The results of using local curriculum revealed that when assessing after the trial, the overall score of students' creative thinking level (Grade 4, Grade 5, and Grade 6) was at a high level. For the level of respectful mind of the students, the overall score was at a high level. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Development of local curriculum using community participation-based learning to enhance creative thinking and respective mind for elementary students, Chiang Mai Province | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นโดยใช้ชุมชนเป็นฐานแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจิตรู้เคารพสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Education -- Curricula | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Curriculum planning | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Instructional systems -- Design | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Elementary schools -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Local wisdom | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการในการพัฒนา หลักสูตรท้องถิ่นตามแนวคิดการเรียนรู้โคยใช้ชุมชนเป็นฐานแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์และจิตรู้เคารพ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา 2) สร้างหลักสูตรและ หาคุณภาพของหลักสูตรท้องถิ่นตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจิตรู้เคารพ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และ 3) ศึกษา ผลการใช้หลักสูตรท้องถิ่นตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์และจิตรู้เคารพ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 3 คน ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จำนวน 3 คน (โรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรร ณ โรงเรียนเทศบาลวัดพวกช้าง และโรงเรียนเทศบาลวัดศรีปีงเมือง) นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ จำนวนทั้งหมด 80 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 5 คน ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเครื่องเงิน จำนวน 4 คน และผู้ประกอบการ ธุรกิจเครื่องเงิน จำนวน 2 คน รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 97 คน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2 แบบสัมภาษณ์ แบบไม่มีโครงสร้าง 3) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม 4) แบบประเมินโครงร่างหลักสูตรท้องถิ่น5) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ และ 6 แบบวัดจิตรู้เคารพ การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ยเลขณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า สภาพการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูผู้สอน มีความเห็นสอดคล้องกันคือ ควรมีการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้ ชุมชนเป็นฐานแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจิตรู้เคารพ ส่วนปัญหา การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ครูผู้สอนมีความเห็นสอดคล้องกันคือ ปัญหาการวางแผน ขาดงบประมาณสนับสนุนจากชุมชนและการจัดการเวลาไม่เป็นไปตามความต้องการของชุมชน และ ปัญหาการจัดการเรียนการสอน ขาดการสนับสนุนงบประมาณจัดทำอุปกรณ์การสอนเครื่องเงิน ส่วนนักเรียนมีความเห็นสอดคล้องกันว่า ปัญหาการเรียนการสอน เวลาการจัดกิจกรรมไม่เหมาะสม สำหรับความต้องการการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดแสดงความต้องการ ด้านความคิดสร้างสรรค์ ควรออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินหรืออลูมิเนียมสร้างสรรค์เพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่มและสามารถนำไปประกอบอาชีพในชุมชน ด้านจิตรู้เคารพและด้านชุมชนเป็นฐานแบบมีส่วนร่วม ครูผู้สอน ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น และ นักเรียนเห็นควรอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญา เครื่องเงิน ผลการสร้างหลักสูตรท้องถิ่นรายวิชาภูมิปัญญาเครื่องเงิน ระดับชั้นประถมศึกษา ป.4-ป.6 ง.14202 ง.15202 และ ง.16202 เวลาเรียนระดับชั้นละ 40 ชั่วโมง รวมจำนวนเวลาเรียนทั้งหมด 120 ชั่วโมง สำหรับการหาคุณภาพหลักสูตรท้องถิ่น โดขผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรท้องถิ่น จำนวน 5 ท่าน ผลปรากฏว่า หลักสูตรท้องถิ่นมีความสอดคล้องระดับมากที่สุด ผลการใช้หลักสูตรท้องถิ่น พบว่า จากการทดลองใช้หลักสูตร ระดับความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ะแนนเฉลี่ยภาพรวม ของนักเรียน (ป.4, ป.5, ป.6) พบว่า ภาพรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมาก ระดับจิตรู้เคารพของนักเรียน ภาพรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590252017 ชลธิชา ทิพย์ดวงตา.pdf | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.