Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78530
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชูชัย สมิทธิไกร | - |
dc.contributor.author | สมิตา แสงบุญเรือง | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-21T10:24:40Z | - |
dc.date.available | 2023-07-21T10:24:40Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78530 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were (1) to investigate the relationships among organizational identification, organizational citizenship behavior, and proactive work behavior of police officers in upper northern area; and (2) to examine the mediating role of proactive work behavior in the relationship between organizational identification and organizational citizenship behavior of police officers in upper northern area. The sample of this study was 377 police officers working in upper northern region (i.e., Chiang Mai, Lampang, Lamphun, Phrae, Nan, Phayao, Chiang Rai and Mae Hong Son). The research instruments consisted of (1) the organizational identification scale, (2) the organizational citizenship behavior scale, (3) the proactive work behavior scale, and (4) the personal data questionnaire. Data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson's correlation coefficient, and mediation analysis using bootstrap method with Process Macro (Model 4). The results of the study were as follows: 1. Organizational identification positively influenced proactive work behavior of police officers in upper northern area. (B= .63, p < .01); hypothesis 1, therefore, was supported. 2. Proactive work behavior positively influenced organizational citizenship behavior of police officers in upper northern area. (B= .42, p < .01); hypothesis 2, therefore, was supported. 3. Organizational identification positively influenced organizational citizenship behavior of police officers in upper northern area. (B= .40, p < .01); hypothesis 3, therefore, was supported. 4. The relationship between organizational identification and organizational citizenship behavior was partially mediated by proactive work behavior of police officers in upper northern area. (B=.26, SE = .04); hypothesis 4, therefore, was supported. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของข้าราชการตำรวจในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน : บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between organizational identification and organizational citizenship behavior of police officers in Upper Northern area: the mediating role of proactive work behavior | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ตำรวจ -- ไทย (ภาคเหนือ) | - |
thailis.controlvocab.thash | การทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | สมรรถภาพในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | จิตวิทยาอุตสาหกรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมองค์การ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันกับองค์การ พฤติกรรมการทำงานเชิงรุกและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ของ ข้าราชการตำรวจในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของพฤติกรรม การทำงานเชิงรุกในความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การกับพฤติกรรมการเป็น สมาชิกที่ดีขององค์การของข้าราชการตำรวจในเขตพื้นที่ ภาคเหนือตอนบน กลุ่มตัวอย่างคือ ข้าราชการ ตำรวจชั้นสัญญาบัตรในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย และ แม่ฮ่องสอน จำนวน 377 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบวัค พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (2) แบบวัดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การ (3) แบบ วัดพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก และ (4 แบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิง บรรยาย การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การสื่ออิทธิพลโดยใช้วิธี Bootstrap ด้วยโปรแกรม Process Macro (Model 4) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การ มีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก ของข้าราชการตำร วจในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (B= .63, p <.01) ซึ่ง สนับสนุนสมมติฐานที่ 1 2. พฤติกรรมการทำงานเชิงรุกมีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ของข้าราชการตำร วจในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (B= .42, p <.01)ซึ่ง สนับสนุนสมมติฐานที่ 2 ทมยนติ 3. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การมีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์การของข้าราชการตำรวจในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอย่างมีนัยสำกัญทางสถิติ (B=.40, p< .01) ซึ่งสนับสนุนสมมติฐานที่ 3 4. พฤติกรรมการทำงานเชิงรุกมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อบางส่วน (partial mediator) ใ น ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การและพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก ของ ข้าราชการตำรวจในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน (B = .26, SE = .04) ซึ่งสนับสนุนสมมติฐานที่ 4 | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590132071 สมิตา แสงบุญเรือง.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.