Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78529
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนีย์ หอมกลิ่น-
dc.contributor.authorวัชราภรณ์ ศิริหล้าen_US
dc.date.accessioned2023-07-21T10:07:54Z-
dc.date.available2023-07-21T10:07:54Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78529-
dc.description.abstractThe purposes of this research were ( 1) to investigate the relationships among psychological capital, psychological empowerment and work engagement of office workers in a textile factory and (2) to examine the mediating role of psychological empowerment on the relationship between psychological capital and work engagement of office workers in a textile factory. A sample from purposive sampling method was 207 office workers in a textile factory. The research instruments consisted of psychological capital scale, psychological empowerment scale and work engagement scale. Reliability of the scales were between .72 - .93. Statistics used to analyze the data were Pearson's Product moment correlation and hierarchical regression analysis to test the hypotheses by using Process macro (model 4). The results revealed that psychological capital could predictive of work engagement and psychological empowerment at a statistically significant . 001 level. However, psychological empowerment could not significantly predictive of work engagement. In addition, psychological empowerment did not play a significant mediate role in the relationship between psychological capital and work engagement of office workers in a textile factory.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาและความผูกพันต่องานของพนักงานสำนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอแห่งหนึ่ง : บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตใจen_US
dc.title.alternativeRelationship between psychological capital and work engagement of office workers in a textile factory: the mediating role of psychological empowermenten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมสิ่งทอ-
thailis.controlvocab.thashคนงานทอผ้า-
thailis.controlvocab.thashความผูกพันต่อองค์การ-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยา การ เสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตใจ และความผูกพันต่องานของพนักงานสำนักงานในโรงงาน อุตสาหกรรมสิ่งทอแห่งหนึ่ง และ (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตังแปรสื่อของการเสริมสร้างพลัง อำนาจเชิงจิตใจในความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาและความผูกพันต่องานของพนักงาน สำนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานสำนักงานโรงงาน อุตสาหกรรมสิ่งทอแห่งหนึ่ง จำนวน 207 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความผูกพันต่องาน แบบวัดทุนทางจิตวิทยา และแบบวัดการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตใจ มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง .72 ถึง .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson's Product Moment Correlation) โดยทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยการวิเคราะห์ฤดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น (Hierarchical multiple regression analysis) โดยโปรแกรม Process macro (แบบจำลองที่ 4) ผลการศึกษาพบว่า ทุนทางจิตวิทยาสามารถทำนายความผูกพันต่องานและการเสริมสร้างพลัง อำนาจเชิงจิตใจได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 1 อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาพบว่า การ เสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตใจไม่สามารถทำนายความผูกพันต่องานได้อย่างมีนัยสำคัญ และการ เสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตใจไม่มีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อในความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยา และความผูกพันต่องานของพนักงานสำนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอแห่งหนึ่งen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132015 วัชราภรณ์ ศิริหล้า.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.