Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78521
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nannaphat Saenghong | - |
dc.contributor.advisor | Nongyao Nawarat | - |
dc.contributor.advisor | Prasit Leepreecha | - |
dc.contributor.author | Yang, Jianlin | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-20T00:59:00Z | - |
dc.date.available | 2023-07-20T00:59:00Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78521 | - |
dc.description.abstract | This study examines the teaching and learning of the ethnic Dai language in Long Primary School, located in the Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture, Yunnan Province, China. This study aims to achieve three objectives, including 1) to analyze the implementation of multicultural education policies at three levels, including the national level, provincial level (Yunnan Province), and district level (Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture) in China, 2) to explore the impact of the multicultural education policies on the implementation of multicultural education in Long Primary School in the Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture, Yunnan Province, China, 3) to investigate the influence of the multicultural education policies on the teaching of ethnic Dai language in Long Primary School in the Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture, Yunnan Province, China. This study employs a qualitative approach, collecting data through semi-structured interviews and non-participation observations. The research involved 30 participants from seven sample groups, including personnel of the Ministry of Education, school principals, teachers, students, parents, community leaders, and local artists. This study is conducted at Long Primary School in the Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture, Yunnan Province, China. The research tool employed in this study included 1) observation forms for the school, 2) observation forms for ethnic language teaching and learning in the classrooms, and 3) semi-structured interviews conducted with each of the seven sample groups. The combination of thematic coding and content analysis was used for data analysis. The findings of this study revealed five major themes: 1) Multicultural education policies at all levels in China place significant emphasis on multicultural education. It encompasses a comprehensive set of 17 national-level policies that address various aspects of ethnic diversity, including five on promoting the rights to teach and learn ethnic languages, one policy on allocating budgets specifically for language education, three on facilitating translation and publication of books for ethnic minority groups, and six on promoting the dimensions of multicultural education. 2) Among the 27 regulations encompassing multicultural education policies at the provincial level in Yunnan Province, it was observed that two of these regulations focus on language education promotion, one supports budget allocation for language education, one emphasizes the dimensions of multicultural education, and one promotes training for ethnic language teachers. 3) At the local level in Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture, there is a total of 130 provisions in both the Autonomous Regulations of the Autonomous Region and the Education Regulations of the Autonomous Region. Three of these provisions specifically support the rights to use ethnic minority languages, and three promote learning ethnic minority languages in Xishuangbanna. 4) Long Primary School has established a comprehensive multicultural education program that caters to students from diverse ethnic backgrounds. This includes teaching Ethics and Laws to students of all ethnicities, organizing celebrations during the Songkran Festival specifically for the ethnic Dai group, showcasing traditional dances performed by the Akha people, encouraging the wearing of traditional ethnic costumes in the school, and fostering a vibrant cultural atmosphere through drawing projects conducted in the school. 5) Long Primary School has primarily focused on providing ethnic Dai language instruction to the ethnic Dai students, who constitute the largest ethnic group in the school. However, it is important to note that the school is also home to various other ethnic minority students with distinct languages and cultures. This emphasis on the main ethnic group has resulted in a misalignment between the teaching practices and multicultural education's broader objectives. Multicultural education stresses equal access to education for all students. However, despite cultural diversity, primary schools often fail to treat students from different ethnic backgrounds equally. This study reveals that China's multicultural education policies strive for equal education among all ethnic groups nationwide. However, educational institutions must address curriculum integration, teaching management, and learning activities to implement these policies and cater to student diversity effectively. The study concludes that to achieve genuine educational freedom, particular attention should be paid to specific ethnic groups, ensuring unbiased education regarding culture, ethnicity, gender, language, and religion. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Multicultural teaching and learning in an ethnically diverse school in Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture, Yunnan, China | en_US |
dc.title.alternative | การเรียนการสอนพหุวัฒนธรรมศึกษาของโรงเรียนหลากวัฒนธรรม ในเขตสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Cultural pluralism -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Multicultural education -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Ethnocentrism -- China | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์นโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์สามระดับ ได้แก่ นโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ในระดับชาติ ระดับมณฑลยูนนาน และระดับสิบสองปันนา 2) เพื่อศึกษาผลของนโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธ์สามระดับที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนพหุวัฒนธรรมศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาหลงในเขตสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน 3) เพื่อศึกษาผลของนโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธ์สามระดับที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนภาษาไทลื้อของโรงเรียนประถมศึกษาหลงในเขตสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ การเก็บข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยผู้ให้ข้อมูล จำนวน 7 กลุ่ม ได้แก่ บุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนและปราชญ์ชาวบ้าน รวมทั้งหมด จำนวน 30 คน โดยศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาหลง สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน เป็นพื้นที่วิจัย นอกจากนี้ผู้วิจัยใช้เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสังเกตสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน 2) แบบสังเกตการเรียนการสอนภาษาไทลื้อ 3) แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างสำหรับกลุ่มตัวอย่างทั้ง 7 กลุ่ม ผู้วิจัยโดยใช้แนวคิดการศึกษาเชิงวิพากษ์และแนวคิดพหุวัฒนธรรมศึกษามาวิเคราะห์นโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์สามระดับ และการบูรณาการเนื้อหาพหุวัฒนธรรมศึกษาในการเรียนการสอนวิชาภาษาไทลื้อ ผลการวิจัยพบว่า 1) นโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ในประเทศจีนทั้งสามระดับ เป็นนโยบายที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาพหุวัฒนธรรม โดยมีนโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ระดับชาติทั้งหมด 17 นโยบาย ได้แก่ นโยบายส่งเสริมด้านสิทธิการเรียนภาษาชาติพันธุ์และการเรียนการสอนทวิภาษามีจำนวน 5 นโยบาย นโยบายส่งเสริมด้านงบประมาณในการเรียนการสอนทวิภาษามีจำนวน 1 นโยบาย นโยบายส่งเสริมด้านการจัดทำ แปลและตีพิมพ์หนังสือสำหรับชาติพันธุ์และงบประมาณมีจำนวน 3 นโยบาย นโยบายส่งเสริมด้านมิติพหุวัฒนธรรมศึกษามีจำนวน 6 นโยบาย 2) จากนโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ในมณฑลยูนนานที่มีข้อบังคับ 27 ข้อ พบว่า ข้อบังคับส่งเสริมการเรียนการสอนทวิภาษามีจำนวน 2 ข้อ ข้อบังคับที่ส่งเสริมงบประมาณในการเรียนการสอนทวิภาษามีจำนวน 1 ข้อ ข้อบังคับที่ส่งเสริมมิติพหุวัฒนธรรมศึกษามีจำนวน 1 ข้อ ข้อบังคับที่ส่งเสริมในด้านการอบรมครูผู้สอนทวิภาษามีจำนวน 1 ข้อ 3) จากข้อบังคับเขตปกครองตนเองแห่งสิบสองปันนา และข้อบังคับการศึกษาเขตปกครองตนเองแห่งสิบสองปันนาจำนวนสองฉบับ ทั้งหมด 130 ข้อ พบว่ามีข้อบังคับในการสนับสนุนด้านสิทธิการใช้ภาษาชาติพันธุ์มีจำนวน 3 ข้อ ข้อบังคับส่งเสริมด้านการเรียนภาษาชาติพันธุ์ในสิบสองปันนาจำนวน 3 ข้อ 4) โรงเรียนประถมศึกษาหลงได้จัดการเรียนการสอนพหุวัฒนธรรมศึกษาแก่นักเรียนที่หลากหลาย ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนวิชาคุณธรรมและกฎระเบียนแก่นักเรียนทุกชาติพันธุ์ การจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองช่วงเทศกาลสงกรานต์ของชาวไทลื้อ การเต้นรำของชาวอาข่า การส่งเสริมให้มีการแต่งกายชุดชาติพันธุ์ภายในโรงเรียนและโครงการวาดรูป เพื่อสร้างบรรยากาศพหุวัฒนธรรมภายในโรงเรียน 5) โรงเรียนประถมศึกษาหลงได้จัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทลื้อให้เฉพาะกลุ่มนักเรียนไทลื้อซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ในโรงเรียน ในทางกลับกับโรงเรียนประถมศึกษาหลงยังประกอบไปเวยกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ที่มีความหลากหลายทางด้านภาษาและวัฒนธรรม การให้ความสำคัญเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีจำนวนมากที่สุดในโรงเรียน ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับเป้าหมายพหุวัฒนธรรมศึกษา โดยแนวคิดพหุวัฒนธรรมศึกษาเสนอว่า นักเรียนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาและได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน จากมุมมองการศึกษาเชิงวิพากษ์ แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนประถมศึกษาหลงซึ่งเป็นสถานศึกษาที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ไม่ได้ปฏิบัติต่อนักเรียนชาติพันธุ์อย่างเท่าเทียมกัน จากข้อค้นพบชี้ให้เห็นว่านโยบายพหุวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ในประเทศจีนได้ส่งเสริมการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศจีนเพื่อให้นักเรียนทุกๆ คนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน แต่ผลการวิจัยพบว่าในการนำนโยบายไปปฏิบัติของสถานศึกษาควรตระหนึกถึงความหลากหลายของผู้เรียนในโรงเรียน ทั้งการบูรณาการหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ ต้องคำนึงการให้ความสำคัญเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง และการจัดการศึกษานั้นต้องปราศจากอคติทางวัฒนธรรมธรรม ชาติพันธุ์ เพศ ภาษา ศาสนาฯ เพื่อนำไปสู่เสรีภาพทางการศึกษาอย่างแท้จริงในสถานศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600251002Jinlin yang.pdf | 11.52 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.