Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78504
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPana Suttakul-
dc.contributor.authorKittitat Janpoomen_US
dc.date.accessioned2023-07-16T04:18:58Z-
dc.date.available2023-07-16T04:18:58Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78504-
dc.description.abstractGreenhouse gas (GHG) emission is a significant cause of climate change and a barrier to achieving sustainable development, especially the transport sector accounts for a quarter of global GHG emissions. In Thailand, road transport accounts for over half of all transport-related GHG emissions. To deal with GHG emissions and pollution crises, electrified vehicles (EVs) are becoming a more viable option for achieving zero-emission transportation and have been widely recognized in several countries, such as China, the European Union (EU), and the United States (US). However, the anxiety of drivers regarding the capability of travel distance and sufficient charging stations is a crucial factor in the transition from fossil fuel to electricity. While next-generation automotive vehicles are incessantly developed, autonomous vehicles, which help humans to drive safely and comfortably, are popular in markets because AVs have Advanced Driver Assistance Systems (ADAS) features such as Adaptive Cruise Control (ACC) or Lane Keeping Assistance (LKA). Due to the growth of AVs and EVs, this study aims to investigate the factors that influence the energy consumption of AVs, focusing on battery electric vehicle (BEV), hybrid electric vehicle (HEV), and Internal combustion engine vehicles (ICEV), having ACC technology to provide insights. which is the energy consumption and environment of AVs, for stakeholders who are government policies maker and consumers. Moreover, this study used machine learning (ML) to predict energy consumption and analyze factors influencing the energy consumption of testing vehicles. This study found that utilizing the ACC of the test vehicles is inefficient in reducing the energy consumption because these vehicles maintain a constant speed, necessitating the continuous operation of the engine and motors. In addition, activating the ACC of BEV and ICEV results in frequent acceleration and deceleration, leading to increased energy consumption than usual driving. In terms of testing efficiency energy consumption of next-generation automotive vehicles, ICEVs are the most energy consumption than BEVs and HEVs in all route modes. The influence factors, such as speed and slope, are also significant factors that impact the performance and energy of test vehicles.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAnalysis of factors affecting energy consumption of electrified vehicles using adaptive cruise control technologyen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานของยานยนต์ไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยีควบคุมความเร็วแบบแปรผันอัตโนมัติen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshElectric vehicles-
thailis.controlvocab.lcshMotor vehicles-
thailis.controlvocab.lcshElectric power-
thailis.controlvocab.lcshElectric driving-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นสาเหตุสำคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หลายปีที่ผ่านมาภาคการขนส่งมีสัดส่วนถึงหนึ่งในสี่ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก ซึ่งในภาคการขนส่งของประเทศไทยนั้นการขนส่งทางบกมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดเมื่อเทียบกับการขนส่งประเภทอื่นๆ และยังมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น เพื่อจัดการกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มสูงขึ้น ยานยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาเหล่านี้ ซึ่งยานยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ายังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในหลายประเทศ เช่น จีน สหภาพยุโรป และ สหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม ความกังวลของผู้ขับขี่เกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของความสามารถในการเดินทางต่อการชาร์จ และความพร้อมของสถานีชาร์จของยานยนต์พลังงานไฟฟ้า เป็นปัจจัยสำคัญที่ขัดขวางการเปลี่ยนผ่านจากยานยนต์ที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นยานยนต์พลังงานไฟฟ้า ในขณะที่ยานยนต์สมัยใหม่ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบันยานยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ (Autonomous vehicles, AVs) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้ขับขี่ให้มีความสะดวกสบายและความปลอดภัยบนท้องถนนมากขึ้นกำลังได้รับความนิยม เนื่องจาก AVs มีระบบช่วยเหลือผู้ขับขี่ขั้นสูง (Advanced Driver Assistance Systems , ADAS) เช่น ระบบควบคุมความเร็วแบบแปรผันอัตโนมัติ (Adaptive Cruise Control, ACC) หรือ ระบบรักษารถให้อยู่ในช่องจราจร (Lane Keeping Assistance, LKA) จากการเติบโตของยานยนต์สมัยใหม่ทั้งยานยนต์พลังงานไฟฟ้า และยานยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานของ AVs โดยให้ความสนใจศึกษา ยานยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ (battery electric vehicles, BEV) ยานยนต์ไฟฟ้าแบบไฮบริด (hybrid electric vehicle, HEV) และยานยนต์สันดาปภายใน (Internal combustion engine vehicles, ICEV) ที่มีเทคโนโลยี ACC เพื่อเสนอข้อมูลเชิงลึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของยานยนต์เหล่านี้แก่ผู้บริโภคและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการร่างนโยบายของรัฐ นอกจากนี้ การศึกษานี้ได้ใช้การเรียนรู้ของเครื่อง (Machine learning, ML) ทำการทำนายอัตราการใช้พลังงานและปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานของยานยนต์ทดสอบ การศึกษาในครั้งนี้พบว่าการใช้งานระบบ ACC ใน BEV HEV และ ICEV ไม่มีประสิทธิภาพในการลดอัตราการใช้พลังงานของรถยนต์ทดสอบ เนื่องจากระบบดังกล่าวนี้พยายามควบคุมความเร็วของรถให้คงที่ ส่งผลให้เครื่องยนต์และมอเตอร์ไฟฟ้า ต้องทำงานอย่างต่อเนื่อง ในแง่ของการทดสอบประสิทธิภาพของยานยนต์สมัยใหม่ที่มีระบบขับเคลื่อนที่แตกต่างกัน ในการขับขี่บนท้องถนน ICEV มีการใช้พลังงานมากที่สุดเมื่อเทียบกับ BEV และ HEV ในทุกโหมดเส้นทาง ปัจจัยที่มีอิทธิพลที่สำคัญ เช่น ความเร็ว และความลาดชัน ส่งผลต่อสมรรถนะ และการใช้พลังงานของยานยนต์ทดสอบ นอกจากนี้การศึกษาเพิ่มเติมแสดงให้เห็นว่าแบบจำลอง ML มีประสิทธิภาพในการทำนายและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้พลังงาน ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับระบบขนส่งอัจฉริยะในอนาคตได้en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640631096_กิตติธัช_จันทร์ปุ่ม.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.