Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78484
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChaiyun Sakulsriprasert-
dc.contributor.advisorNahathai Wongpakaran-
dc.contributor.advisorChawisa Suradom-
dc.contributor.advisorO'Donnell, Ronald-
dc.contributor.authorJia, Nanen_US
dc.date.accessioned2023-07-15T03:01:04Z-
dc.date.available2023-07-15T03:01:04Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78484-
dc.description.abstractBackground: Among young adults, borderline personality disorder (BPD) is prevalent. Its incidence among university students varied widely, according to related studies. Few studies have investigated BPD symptoms and their relationships to diverse factors in a Chinese community. Methods: A sample of Chinese university students was subjected to a cross-sectional online survey from November 2021 to January 2022. Screening Instrument for Borderline Personality Disorder (SI-Bord), Experience in Close Relationships-Revised 18-item Version (ECR-R-18), Meaning In Life Questionnaire (MLQ), Resilience Inventory (RI-9), Rosenberg Self-Esteem Scale (RSES), Patient Health Questionnaire h (PHQ-9), Perceived Stress Scale 10-item version (PSS-10) and sociodemographic questionnaires were completed. Pearson’s correlation methods were used to analyze the data. Results: The average age of the 767 participants was 20.33, and 53.5% were men. A cut-off score >7 on the SI-Bord indicated the presence of BPD symptoms in 17.5% of subjects. With a significant correlation of 0.473, 0.180, -0.148, -0.388, -0.238, 0.48, and 0.451, respectively, attachment anxiety, avoidance, meaning in life, self-esteem, resilience, perceived stress and depression were strongly linked with BPD symptoms. Conclusion: The high prevalence of BPD symptoms and their significant correlation with mental health outcomes among Chinese university students suggest that early identification of BPD symptoms is essential for this population.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePrevalence of symptoms of borderline personality disorder and its correlations with different variables among Chinese university students: a cross-sectional studyen_US
dc.title.alternativeความชุกของอาการบุคลิกภาพแปรปรวนแบบเจ้าอารมณ์และความสัมพันธ์กับตัวแปรที่เกี่ยวข้องในนักศึกษามหาวิทยาลัยชาวจีน: การศึกษาแบบภาคตัดขวางen_US
dc.typeThesisen_US
thailis.controlvocab.lcshSelf-esteem-
thailis.controlvocab.lcshBorderline personality disorder-
thailis.controlvocab.lcshDepression, Mental-
thailis.controlvocab.lcshCollege students -- China-
thailis.controlvocab.lcshCollege students -- Mental health-
article.epageThesis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภูมิหลัง: บุคลิกภาพแปรปรวนแบบเจ้าอารมณ์เป็นบุคลิกภาพแปรปรวนที่พบได้บ่อยกว่า บุคลิกภาพแปรปรวนอื่น ๆ นักศึกษามหาวิทยาลัยเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะพบอาการบุคลิกภาพแปรปรวน แบบเจ้าอารมณ์และปัญหาสุขภาพจิต การศึกษาที่ผ่านมาความชุกในกลุ่มนักศึกษาค่อนข้างหลากหลาย จากร้อยละ 0.5 ถึงร้อยละ 32 แตกต่างกันไปตามช่วงเวลา สำหรับประเทศจีนพบการศึกษาความชุก ของบุคลิกภาพแปรปรวนแบบเจ้าอารมณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องไม่มากนัก วิธีการ: การวิจัยนี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวางในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยใน ประเทศจีนจำนวน 767 ราย ซึ่งเก็บข้อมูลระหว่างช่วงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ .2564 ถึงมกราคม พ.ศ .2565 การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามออนไลน์ประกอบไปด้วยแบบสอบถามข้อมูลประชากรและ สังคม แบบคัดกรองบุคลิกภาพแเปรปรวนแบบเจ้าอารมณ์ (SI-Bord) แบบสอบถามเรื่องสัมพันธภาพ กับคู่ (ECR-R) แบบสอบถามความหมายในชีวิต (MLQ) แบบวัดความรู้สึกเครียด (PSS-10) ภาวะ ซึมเศร้า (PHQ9) แบบสอบถามความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเองของโรเซนเบิร์ก (RSES) และแบบวัดการ ฟื้นคืนได้ (RI-9) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา: เมื่อใช้จุดตัดที่ > 7 คะแนนพบว่าความชุกของอาการบุคลิกภาพแปรปรวนแบบ เจ้าอารมณ์อยู่ที่ร้อยละ 17.5 ปัจจัยด้านสุขภาพจิตทุกด้าน (ความรู้สึกผูกพันชนิดกังวล ความรู้สึก ผูกพันชนิดหลีกเลี่ยง ภาวะซึมเศร้า ความเครียด ความหมายในชีวิต การฟื้นคืนได้ และความรู้สึก ภาคภูมิใจในตัวเอง) มีความสัมพันธ์กับอาการบุคลิกภาพแปรปรวนแบบเจ้าอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญ โดยมีค่าเท่ากับ 0.473, 0.180, 0.451, 0.481,-0.148, -0.238, และ-0.388 ตามล าดับ (p < 0.01). สรุปผล: ผลการศึกษาสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมาและทำให้เห็นว่าการคัดกรองอาการ บุคลิกภาพแปรปรวนแบบเจ้าอารมณ์ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและปัญหาด้านสุขภาพจิตของนักศึกษาเป็น เรื่องสำคัญen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
639935805-NAN JIA.pdfthesis3.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.