Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78474
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.advisorแสวง แสนบุตร-
dc.contributor.authorเฉลิมพล ศรีตันดาen_US
dc.date.accessioned2023-07-13T00:26:09Z-
dc.date.available2023-07-13T00:26:09Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78474-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop a project-based learning management plan to promote the problem-solving skills of primary school students, and 2) to study the level of problem-solving skills of primary school students. The target groups in this research were: 1) experts who assessed the quality of the learning management plan and the quality of the assessment form; The problem-solving skills of nine students and six elementary school students were considered specifically for the target group. The tools used in the research consisted of four plans for project-based learning management for social studies, subject matter, and economics, taking 12 hours to organize learning activities, and an assessment form for learning management plans. Problem-solving skills assessment form the data were analyzed using percentage, mean (x̅), standard deviation (S.D.), IOC (concordance index), and ∑R (sum of expert opinions). and content analysis. The research results showed that the development of a project-based learning management plan to promote problem-solving skills in elementary school students in the amount of 4 Lesson Plans, 3 hours each, totaling 12 hours, using the PDAR process, there are 4 steps: 1) (P – Plan ) Planning stage 2) (D - Design) Design stage 3) (A - Action) Operation stage 4) (R - Reflect) Reflection step All learning plans are consistent with the objectives of the research. as well as carrying out activities and can be used to develop problem-solving skills and learning outcomes for students. for the quality of the project-based learning management plan to promote the problem-solving skills of primary school students. The overall image is of very good quality. and problem-solving skills of elementary school students were at the most practical level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาen_US
dc.title.alternativeProject-based learning management to promote problem-solving skills for primary school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการสอนแบบโครงงาน-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนประถมศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา 2) เพื่อประเมินแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาและ 3) เพื่อศึกษาระดับทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษากลุ่มเป้าหมายในวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้และคุณภาพของแบบประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน จำนวน 9 คน และนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน 6 คน พิจารณาโดยเจาะจงเป็นกลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบไปด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาวิชาสังคมศึกษา จำนวน 4 แผน ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมเรียนรู้รวม 12 ชั่วโมง 2) แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 2. การประเมินแบบประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x̅ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ IOC หมายถึง ค่าดัชนีความสอดคล้อง ∑R หมายถึง ผลรวมของความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน 4 แผน แผนละ 3 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ใช้กระบวนการ PDAR มี 4 ขั้นตอนคือ 1) (P – Plan ) ขั้นวางแผน 2) (D – Design) ขั้นการออกแบบ 3) (A – Action) ขั้นการปฏิบัติการ 4) (R – Reflect) สะท้อนคิด ซึ่งทุกแผนการจัดการเรียนรู้มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ของการวิจัย ตลอดจนการดำเนินกิจกรรม และสามารถนำไปใช้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาและผลการเรียนรู้ของนักเรียนได้ สำหรับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ภาพรวมอยู่ระดับมีคุณภาพมาก และทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา อยู่ในระดับ ปฏิบัติมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
เฉลิมพล ศรีตันดา 600232023.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.