Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78467
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพดล กรประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | ธนวัฒน์ โสภาวัน | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T15:06:54Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T15:06:54Z | - |
dc.date.issued | 2565-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78467 | - |
dc.description.abstract | The midblock pedestrian crossing is the conflict between pedestrians and vehicles that creates frequent traffic jams and does not support the elderly and disabled. Also, the installation selection design criteria cannot adequately control and manage the traffic efficiency of vehicles and pedestrians. So, the researcher is interested in studying and evaluating operational performances. The purposes of the study are knowing the crossing control patterns that are consistent with number of lanes and suitable for the volume of users, and is appropriate in various traffic conditions, viable control strategy that balances the mobility of the vehicle and pedestrian flow in various traffic volume in Chiang Mai and can compare the use of the crosswalk model in future scenarios based on evaluating the travel efficiency of pedestrians and vehicles through the development of pedestrian traffic models of midblock pedestrian crossing by the PTV Vissim and PTV Viswalk program. Microscopic traffic simulation development from physical data, traffic data, and behavioral data were collected from the field during the peak and off-peak hours also traffic experts' advice, in a comparative analysis of the performance of three crossing control patterns, including Zebra crossing, Fixed time signal crossing, and Intelligent pedestrian crossing. Propose crossing patterns suitable for different areas and traffic conditions as measured by the traffic efficiency of vehicle travel delay, pedestrian travel delays, and the number of stops. The study results found that Zebra crossing is the most effective in low traffic condition. The intelligent pedestrian crossing is effective for a wide range of traffic volumes, and Fixed time signal crossing is more effective in higher traffic and pedestrian traffic condition. Next, development of the midblock pedestrian crossing suggestion criterion with relative weights (α) of 0.1 - 0.9 with an interval of 0.2 increments. Then apply the recommendation criteria to suggest crosswalks in the urban area of Chiang Mai to be more suitable for use. The researcher then applied this crossing control signals model to a practical crossing by choosing the crossing path in the study area as a crossing with a Fixed time signal crossing on Suthep Road in the urban area (4-lane road, no median). It is at the main entrance of Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. After that, evaluate the crosswalk efficiency, both off-peak and peak hours. The study results found that crosswalk crossings had fewer vehicle delays than the others in peak hours (31.47 percent down from the current active key-pressure crossing). However, intelligent light crossings had more minor vehicle delays than the others in peak-hour modes. In addition, intelligent light crossings had fewer pedestrian delays than others, both outside off-peak hours and during peak hours. Moreover, it was observed that the efficiency evaluation results were consistent with the results from the pedestrian traffic models. Moreover, in the next ten years, assuming a vehicle growth rate of 2.96 percent and a pedestrian growth rate of 1.31 percent, Intelligent pedestrian crossing has higher traffic efficiency than the Fixed time signal crossing, which is currently in use. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ทางข้ามคนเดินเท้าบนช่วงถนนในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of pedestrian midblock crossing in Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | จราจร -- แบบจำลอง | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบขนส่งอัจฉริยะ | - |
thailis.controlvocab.thash | การออกแบบพื้นที่คนเดินเท้า | - |
thailis.controlvocab.thash | คนเดินเท้า | - |
thailis.controlvocab.thash | ถนน -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในปัจจุบันการเดินข้ามถนนในเขตเมืองเป็นจุดขัดแย้งระหว่างคนเดินเท้าและยานพาหนะอาจ สร้างปัญหาการจราจรติดขัด ทั้งไม่รองรับการใช้งานของผู้สูงอายุและผู้พิการ เนื่องจากเกณฑ์การ ออกแบบเลือกจุดติดตั้งยังไม่สามารถควบคุมและจัดการประสิทธิภาพทางการจราจรของยานพาหนะ และคนเดินเท้าได้มากพอ ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจการศึกษาและประเมินประสิทธิภาพทางด้านจราจร ของรูปแบบทางข้ามถนน เพื่อให้มีรูปแบบทางข้ามที่มีความสอดคล้องกับจำนวนช่องจราจร และ เหมาะสมกับปริมาณผู้ใช้งาน ทั้งยังมีความเหมาะสมในสภาพการจราจรต่าง ๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์ จากประสิทธิภาพในการเดินทางของคนเดินเท้าและยานพาหนะ และทำการประยุกด์แบบจำลอง การจราจรคนเดินสำหรับประเมินประสิทธิภาพการใช้งานของทางข้ามบนช่วงถนนที่มีการใช้งานอยู่ ในปัจจุบันและสามารถเปรียบเทียบการ ใช้งานรูปแบบทางข้ามในสถานการณ์อนาคต จากการ วิเคราะห์จากประสิทธิภาพในการเดินทางของคนเดินเท้าและยานพาหนะ ผ่านการพัฒนาแบบจำลอง การจราจรคนเดินของรูปแบบทางข้ามบนช่วงถนน โดยใช้งานโปรแกรม PTV Vissim ร่วมกับ PTV Viswalk โดยพัฒนาแบบจำลองระดับจุลภาคจากการเก็บข้อมูลกายภาพ ข้อมูลการจราจร และข้อมูล พฤติกรรม อีกทั้งมีการสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้านการจราจรเกี่ยวกับทางข้ามเพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาแบบจำลอง ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพของรูปแบบการควบคุมทางข้าม 3 รูปแบบ ได้แก่ ทางข้ามทางม้าลาย ทางข้ามมีสัญญาณไฟแบบกคปุ่ม และ ทางข้ามมีสัญญาณไฟแบบ อัจฉริยะ เพื่อใช้ในการเสนอรูปแบบทางข้ามที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และสภาพการจราจรที่แตกด่าง กัน โดยวัดจากประสิทธิภาพจราจรจาก ความล่าช้ำในการเดินทางของยานพาหนะ ความล่าช้าในการ เดินทางของคนเดินเท้า และจำนวนครั้งที่ยานพาหนะหยุด พบว่า ทางข้ามทางม้าลายจะมีประสิทธิภาพ สูงที่สุดกับสภาพการจราจรที่มีปริมาณยานพาหนะน้อย ทางข้ามมีสัญญาณไฟแบบอัจฉริยะมี ประสิทธิภาพในปริมาณจราจรที่หลากหลาย และ ทางข้ามสัญญาณไฟคนข้ามแบบกคปุ่มจะมี ประสิทธิภาพมากในช่วงที่มีปริมาณรถและคนเดินมากขึ้น แล้วทำการพัฒนาเกณฑ์เสนอแนะรูปแบบ ทางข้ามที่มีค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (α) เป็น 0.1-0.9 ที่มีช่วงในการเพิ่มขึ้น 0.2 หลังจากนั้นประยุกดีใช้ เกณฑ์เสนอแนะ ในการแนะนำทางข้ามในบริเวณพื้นที่เขดเมืองของจังหวัดเชียงใหม่ให้มีความ เหมาะสมต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น จากนั้นผู้วิจัยได้ทำการประยุกด์แบบจำลองการควบคุมสัญญาณไฟดังกล่าวให้ใช้ในทางข้ามที่มี การใช้งานจริง โดยเลือกทางข้ามพื้นที่ศึกษาเป็นทางข้ามใช้งานเป็นแบบมีสัญญาณไฟคนข้ามแบบกด ปุ่มบนถนนสุเทพในเขตเมือง (ถนน 4 ช่องจราจร ไม่มีเกาะกลาง) บริเวณประดูทางเข้าหลักของ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ทำการประเมินประสิทธิภาพทางข้ามทั้งนอกชั่วโมงเร่งด่วนและ ในชั่วโมงเร่งด่วน พบว่า ทางข้ามทางม้าลายมีความล่าช้าของยานพาหนะ น้อยกว่าอีกสองรูปแบบนอก ชั่วโมงเร่งด่วน (ลคลงจากทางข้ามกดปุ่มที่ใช้งานปัจจุบันร้อยละ 31.47) แต่ทางข้ามสัญญาณไฟแบบ อัจฉริยะมีความล่าช้าของยานพาหนะน้อยกว่าอีกสองรูปแบบในชั่วโมงเร่งด่วน (ลดลงจากทางข้ามกด ปุ่มที่ใช้งานปัจจุบันร้อยละ 5.76) อีกทั้งทางข้ามสัญญาณไฟแบบอัจฉริยะมีความล่าช้าของคนเดินเท้า น้อยกว่าอีกสองรูปแบบทั้งนอกชั่วโมงเร่งด่วนและในชั่วโมงเร่งด่วน (ลดลงจากทางข้ามกดปุ่มที่ใช้ งานปัจจุบันร้อยละ 12.70 และ 9.56 ตามลำดับ) จะสังเกตได้ว่าผลการประเมินประสิทธิภาพมีความ สอดคล้องกับผลการประเมินจากแบบจำลองการจราจรทางข้าม ยิ่งไปกว่านั้นในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้า เมื่อสมมติให้มีอัตราการเติบโตของยานพาหนะเป็นร้อยละ 2.96 และมีอัตราการเติบโตของ คนเดินเท้าเป็นร้อยล: 1.31 พบว่า ทางข้ามแบบมีสัญญาณไฟแบบอัจฉริยะจะมีประสิทธิภาพทาง การจราจรสูงกว่ากรณีใช้สัญญาณไฟแบบปุ่มกดที่กำลังใช้งานอยู่ในปัจจุบัน | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620631010 ธนวัฒน์ โสภาวัน.pdf | 15.02 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.