Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78463
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรา ตันติประภา-
dc.contributor.authorพิศุภางค์ หาญภักดีสกุลen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T14:55:16Z-
dc.date.available2023-07-11T14:55:16Z-
dc.date.issued2564-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78463-
dc.description.abstractThis study aims to study customers perception on market position of modern trade channels of grocery products in Chiang Mai province using a questionnaire survey to gatber data from 400 customers who received service from 4 trade channels in Chiang Mai. Perception on market position was analyzed using factor analysis and perceptual map. Customer perception on market position was analyzed by factor analysis using Principal Component Analysis of average score regarding modern trade channels given by the respondents. The analysis result concluded 3 factors or components. The first factor concerns marketing promotion and public relations media. But service quality, the freshness of fresh goods was not prominent, and the selection of local goods was scarce. The second factor concerns convenient access, purchased order completion, and value of goods quality. But the imported goods' selection was minimum, in-store products placement did not focus on aesthetics. Lastly, the third factor concerns clear in-store product placement. The analysis of each component's score indicates that 1) Trade channel A shows a prominent market position in terms of service access, purchased order completion, and value of goods quality. Trade channel A shows the least prominence in terms of product arrangement out of al1 4 channels. 2) Trade channel B shows a high level in marketing promotion and public relation media. The service quality and goods freshness are obscure, while also offering a minimum selection of local goods. In terms of service access, trade channel B shows the least prominence. 3) Trade channel C shows a prominent market position in terms of product arrangement by category, service access, purchased order completion, and value of goods quality. The imported goods have low variety while the arrangement is not focused on luxurious design. 4) Trade channel D shows a prominent market position in terms of product arrangement by category. It shows the least prominence in terms of marketing promotion and public relation media.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้ของผู้บริโภคต่อตำแหน่งทางการตลาดของช่องทางค้าปลีกสมัยใหม่กลุ่มสินค้าอุปโภคและบริโภคในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCustomers perception on market position of modern trade channels of grocery products in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการจัดการตลาด-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ของผู้บริโภคต่อตำแหน่งทางการตลาดของช่อง ทางการจัดจำหน่ายค้าปลีกสมัยใหม่กลุ่มสินค้าอุปโภคและบริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคที่เดยใช้บริการจากช่องทางฯทั้ง 4 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 ราย ส่วนการรับรู้ตำแหน่งทางการตลาดวิเคราะห์ โดยใช้การ วิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) และสร้างแผนภาพการรับรู้ (Perceptual map) การรับรู้ของ ผู้บริโภคต่อตำแหน่งทางการดลาดวิเคราะห์ โดยนำคำเฉลี่ยระดับความคิดเห็นของผู้ตอบ แบบสอบถามที่มีต่อตัวแปรของแต่ละช่องทางค้ำปลึกสมัยใหม่มาวิเคราะห์องค์ประกอบด้วยวิธี Principal component analysis ผลการวิเคราะห์ได้องค์ประกอบ 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยที่ 1 การส่งเสริม การตลาดและสื่อประชาสัมพันธ์โดดเด่น แต่คุณภาพการบริการ และความสดใหม่ของสินค้าอาหาร สดไม่โดดเด่น มีสินค้าท้องถิ่นให้เลือกน้อย และปัจจัยที่ 2 ความสะดวกสบายในการเข้าใช้บริการและ ได้รับสินค้าครบถ้วน และราคาคุ้มค่ากับคุณภาพสินค้า แต่สินค้นำเข้ามีความหลากหลายน้อยและการ จัดเรียงสินค้าไม่เน้นดีไซน์ที่มีระดับ และปัจจัยสุดท้าย ค้านการจัดเรียงสินค้าเป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจน เมื่อวิเคราะห์ ช่องทางแต่ละแห่งพบว่า 1) ช่องทางค้าปลีก A มีตำแหน่งทางการตลาคเด่นชัดมากใน ปัจจัยความสะควกสบายในการเข้าใช้บริการและได้รับสินค้าครบถ้วน และราคาคุ้มค่ากับคุณภาพ สินค้า โดยปัจจัยด้านการจัดเรียงสินค้าเป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจนมีความเด่นชัดน้อยที่สุดในช่องทางทั้ง 4 แห่ง 2) ช่องทางค้ำปลีก B ปัจจัยการส่งเสริมการตลาดและสื่อประชาสัมพันธ์โดดเด่น แต่คุณภาพการ บริการ และความสดใหม่ของสินค้าอาหารสดไม่ โดดเด่น มีสินค้าท้องถิ่นให้เลือกน้อย เด่นชัดมาก ที่สุดเมื่อเทียบกับช่องทางอื่น ส่วนปัจจัยความสะดวกสบายในการเข้าใช้บริการและได้รับสินค้า ครบถ้วนมีความเด่นชัดน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับช่องทางอื่น 3) ช่องทางค้าปลีก C มีตำแหน่งทาง การตลาดเด่นชัดที่สุดในปัจจัยค้านการจัดเรียงสินค้าเป็นหมวดหมู่ และปัจจัยความสะดวกสบายใน การเข้าใช้บริการและได้รับสินค้าครบถ้วน และราคาคุ้มคำกับคุณภาพสินค้า แต่มีสินค้านำเข้ามีความ หลากหลายน้อยและการจัดเรียงสินค้าไม่เน้นดีไซน์ที่มีระดับ 4) ช่องทางค้าปลีก D มีตำแหน่งทาง การตลาดมีความเด่นชัดในปัจจัยด้านการจัดเรียงสินค้าเป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจน และมีความเด่นชัดน้อย ที่สุดในปัจจัยการส่งสริมการตลาดและสื่อประชาสัมพันธ์โดดเด่นen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532141 พิศุภางค์ หาญภักดีสกุล.pdf20.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.