Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78458
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัทยา แจ้งกระจ่าง-
dc.contributor.authorกิตติธร ด่านไพบูลย์en_US
dc.date.accessioned2023-07-11T14:42:08Z-
dc.date.available2023-07-11T14:42:08Z-
dc.date.issued2564-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78458-
dc.description.abstractThis independent study aimed to investigate behavior and satisfaction of customers at Lamphun Jatujak Market Food Court. Data were gathered from 385 customers of the studied food court. Statistics applied in this study included percentage, mean, Chi-square, and ANOVA. The findings presented that most respondents were female in the age of 23-30 years old. Their monthy income was less than 15,000 Baht and their education background was lower than Bachelor's degree or equivalence. They worked as employee/private company employee and were married. The majority chose to buy Thai rice dishes at the food court with take away service. Reason of receiving services at the studied food court was the service variety. Most of them revealed that they usually came to have a meal at the studied food court with 1-2 persons and spent 100-200 Baht in each time. In a month, they had taken services at the studied food court for 2-4 times, especially on Sunday of the beginning ofthe month (during 1st - 7th of each month) at 12.01-14.00 hrs. They made their own decision to come to the food court and knew about Lamphun Jatujak Market Food Court from the recommendations of friend/acquaintance. At the post-service stage, they highly satistied with the studied food count. They would certainly recommend this food court to others and would return to take services there in the future. Results of the relationship analysis by using Chi-squre statistic showed that following behavioral factors correlated to the dates that they came to receive services in each month: type of food; reason of receiving services; number of people who would have a meal together; expense for services; date and time of receiving services; media channels that introduced them to get to know the studied food court; feeling after receiving services; word of mouth; and repurchase in the future. Based upon the analysis of variance by using ANOVA with the confidence level at 95%, the results revealed that in consideration of the dates that they came to receive services in each month, customer satisfactions on Lamphun Jatujak Market Food Courts were differently found at statistical significance in 27 sub-factors as follows: overall image of restuarants in the food court; taste of food; cleanliness; food variety; drink varity; standard services; easiness and convenience in purchasing; fame of restuarants in the food court; availability of menu for kids; reasonable food price comparing to its quality; inexpensive food/drink; large and sufficient parking space; availability of service facilities at the food court such as sufficient tables and chairs; building's structure design to facilitie air ventilation and reduce heat inside the building; food court advertisement through online channels; food court advertisement through printed media and bill board; availablilty of sample food or food photo presented in each restaurant; attention and services of staff; standard services being offered by staff at all time; speed of food service; accurate service; sterilization station for spoons and forks; indoor and outdoor atmosphere of the food court; pleasant desing of the food court; outstanding and attractive decortion of each restaurant in the food court; clean and safe toilet area with suffiecient light; and sufficient and convenient spoons and forks stations.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมและความพึงพอใจของลูกค้าศูนย์อาหารตลาดลำพูนจตุจักรen_US
dc.title.alternativeBehavior and satisfaction of customers at Lamphun Jatujak Market Food Courten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashศูนย์อาหารตลาดลำพูนจตุจักร-
thailis.controlvocab.thashตลาดลำพูนจตุจักร-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้บริโภค -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ใช้บริการ -- ลำพูน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มิวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของลูกค้า ศูนย์อาหารตลาดลำพูนจตุจักร เก็บข้อมูลจากผู้มาใช้บริการศูนย์อาหารตลาดลำพูนจตุจักร จำนวน 385 ชุด สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ไคสแควร์ และ ANOVA จากการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 23-30 ปี รายได้เฉลี่ย ต่อเดือน น้อยกว่า 15,000 บาท การศึกษาสูงสุดระดับต่ำกว่าปริญญาตรี หรือเทียบเท่า อาชีพลูกจ้าง/ พนักงานบริษัทเอกชน และสถานภาพ แต่งงานแล้ว โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เลือกซื้ออาหาร อาหารไทยประเภทข้าว โดยใช้บริการที่ศูนย์อาหารและซื้ออาหารกลับบ้าน เหตุผลที่มาใช้บริการ เพราะมีบริการหลากหลาย ส่วนใหญ่มารับประทานอาหาร 1-2 คน มีค่าใช้จ่ายต่อครั้ง 100-200 บาท โดยมาใช้บริการ 2-4 ครั้งต่อเดือน ในวันอาทิตย์ ช่วงต้นเดือน (วันที่ 1-7) เวลาประมาณ 12.01- 14.00 น. ตนเองเป็นผู้ตัดสินใจเลือกใช้บริการศูนย์อาหาร และรู้จักศูนย์อาหารตลาดลำพูนจตุจักร จาก การแนะนำของเพื่อน/(คนรู้จัก แนะนำ ทั้งนี้รู้สึกพึ่งพอใจมากเมื่อมาใช้บริการพร้อมจะแนะนำหรือ บอกต่อให้ผู้อื่นมาใช้บริการอย่างแน่นอน และจะกลับมาใช้บริการอีกในอนาดต อย่างแน่นอน เมื่อทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยค่าสถิติไคสแควร์ พบว่าปัจจัยด้านพฤติกรรม ดังต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กับช่วงวันของเดือนที่มาใช้บริการ ได้แก่ ประเกทอาหารที่ซื้อ เหตุผลที่มา ใช้บริการ จำนวนคนที่ร่วมรับประทานอาหาร ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการ วันที่และช่วงเวลาที่มาใช้ บริการ สื่อที่ทำให้รู้จักศูนย์อาหาร ความรู้สึกหลังจากมาใช้บริการ การแนะนำบอกต่อ และ การกลับมา ใช้บริการอีกในอนาคต เมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติด้วย ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%พบว่า ปัจจัยย่อยส่วนประสมการตลาดของศูนย์อาหารตลาดลำพูนจตุจักร มีผลความพึงพอใจของลูกค้าที่มา ใช้บริการศูนย์อาหารตลาดลำพูนจตุจักร จำแนกตามช่วงวันของเดือนที่มาใช้บริการ แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญ 27 ปัจจัยย่อย ได้แก่ โดยรวมของร้านในศูนย์อาหาร รสชาติของอาหาร ความสะอาด ของร้าน ความหลากหลายของอาหาร ความหลากหลายของเครื่องดื่ม บริการได้มาตรฐาน ซื้อง่าย สะดวกสบาย ชื่อเสียงของรั้นอาหารภายใน ศูนย์อาหาร มีบริการอาหารสำหรับเด็ก ความ เหมาะสมของราคาอาหารกับคุณภาพอาหาร อาหาร/เครื่องดื่มราคาถูก สถานที่สำหรับจอดรถ กว้างขวาง เพียงพอ ภายในศูนย์อาหารมีความสะควกสบาย เช่นโต๊ะเก้าอี้เพียงพอ การออกแบบ โดรงสร้างอาคาร ทำให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่ร้อน การโฆษณาศูนย์อาหาร ผ่านสื่อออนไลน์ ต่างๆ การโฆษณาศูนย์อาหาร ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ป้ายโฆษณา มีอาหารตัวอย่าง หรือ รูปภาพให้ดู การ เอาใจใส่และการให้บริการของพนักงาน มีการบริการที่ได้มาตรฐานเหมือนกันทุกครั้ง ได้รับบริการ อาหารที่รวดเร็ว การบริการด้วยความถูกต้องแม่นยำ มีจุดบริการฆ่าเชื้อโรค ช้อนส้อม บรรยากาศ ภายใน / ภาคนอกศูนย์อาหาร รูปแบบความสวยงามของศูนย์อาหาร ร้นค้าภายในร้นอาหารมีการ ออกแบบตกแต่งได้สะดุดตาและดึงดูคความสนใจ ห้องน้ำสะ อาด ปลอดภัย แสงสว่างเพียงพอ และ จุดช้อนส้อมมีเพียงพอ หยิบสะดวกen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532002 กิตติธร ด่านไพบูลย์.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.