Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78444
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรัญญา ศิริผล | - |
dc.contributor.author | รสริน คุณชม | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T13:52:31Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T13:52:31Z | - |
dc.date.issued | 2564-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78444 | - |
dc.description.abstract | In the past decade, there is a phenomenon of a group of Thai new generation, university students and young workers, go abroad to work and travel for a short period under the supervision of governmental and private programs. Thailand is one of examples in Asian countries that the numbers of this group has been increased rapidly. The focus of the study is on "Thai Working Tourists", who join the Work and Holiday scheme in Australia. The objectives of this study are 1) To investigate roles of the state and family as contexts, which are important structures for managements and movements of Thai working tourists. 2) To study the strategies in managements and adjustments of confrontation engagements of Thai working tourists under conditions, in which the state and family have significant parts in mobility. The methodology is qualitative, interviewing and observing Thai youth who joined the program in 2018-2019. This study has 2 important findings. First, the study reveals that Thai Working Tourists never move easily according to the concept of globalization. They are being controlled by "'Mobility Regime", which is under the power structure that has 2 levels 1) State power, reflected by the Australian government directing movements via key instruments, which are the immigration policy, international agreements and visa regulations. The state wants to gain economic interests from Neoliberalism and constructing an image of Australia's multicultural society. 2) The role of family is to facilitate trips financially and educationally. The family also listens and gives freedom for them to choose. Meanwhile, in some cases, the family also situates travel frictions for them. Second, the young Thais who gain the status of "Working Tourist', may seem to benefit from learning new experiences by travelling. On the other hand, they are facing the regulations of the visa, which limit their status as a primarily tourist and as a temporary migrant worker. Hence, they aren't protected by regulations as regular workers. They usually put to work as unskilled labors, mismatching with their education backgrounds and proficiency. They normally receive under paid wages and can't negotiate with employers. With such conditions, Thai youth adjust and negotiate at their confrontation points with various strategies such as 1) Applying diverse accumulated capitals to deal with immediate problems. 2) Creating new social networks among the Thai youth to make a new living possible. The new network also assists negotiating with government regulations. The network also used for social promotions in the destinated countries as well. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ยุทธวิธีการจัดการชีวิตเดินทางของนักท่องเที่ยวแรงงานภายใต้ระบอบการเคลื่อนย้าย: กรณีศึกษาคนไทยที่เข้าร่วมโครงการทำงานและท่องเที่ยวในประเทศออสเตรเลีย | en_US |
dc.title.alternative | Life arrangement strategies of working tourists under the mobility regime: case study of Thai Working and Holiday Makers (WHMs) in Australia | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | แรงงาน -- ไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | นักท่องเที่ยว -- ไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | การย้ายถิ่นของแรงงาน -- ออสเตรเลีย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา มีปรากฏการณ์ความนิยมของกลุ่มคนรุ่นใหม่ทั้งนักศึกษา มหาวิทยาลัย และกลุ่มคนทำงานเดินทางไปหาประสบการณ์ต่างแดนเพื่อท่องเที่ยวและทำงาน ใน ช่วงหนึ่งของชีวิต ภายใด้โครงการที่จัดขึ้น โคยรัฐหรือเอกชน ประเทศไทยเป็นตัวอย่างหนึ่งของกลุ่ม ประเทศเอเชียที่หนุ่มสาวไทยสนใจเข้าร่วมโครงการเหล่านี้มากขึ้นเรื่อยา งานวิจัยนี้ให้ความสนใจต่อ กลุ่ม "นักท่องเที่ยวแรงงานไทย" ผู้เข้าร่วมโครงการท่องเที่ยวและทำงานในประเทศออสเตรเลียมี วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาบทบาทรัฐและครอบครัวในฐานะบริบทเงื่อน ไขสำคัญต่อการ จัดการการเคลื่อนย้ายของกลุ่มนักท่องเที่ยวแรงงานไทย และ 2) ศึกษายุทธวิธีในการบริหารจัดการ และการปรับจุดเผชิญหน้าของกลุ่มนักท่องเที่ยวแรงงานภายใต้เงื่อนไขที่รัฐและครอบครัวมีบทบาท สำคัญต่อการเคลื่อนย้าย โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลเยาวชน ไทยที่เข้าร่วม โครงการฯ รุ่น ปี 2018-2019 การศึกษามีข้อค้นพบ 2 ประการสำคัญ คือ ประการแรก การเคลื่อนย้ายของนักท่องเที่ยวแรงงานไทยมิได้เป็นไปอย่างอิสระเสรีตาม แนวคิดแบบโลกาภิวัตน์ แค่กลับถูกกำกับด้วย "ระบอบการเคลื่อนย้าย" ภายใด้โครงข่ายอำนาจอย่าง น้อยสองระนาบ ได้แก่ 1) อำนาจรัฐ ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากรัฐบาลออสเตรเลียกำกับการเคลื่อนย้าย ผ่านเครื่องมือสำคัญ คือ นโยบายการย้ายถิ่นฐาน ข้อตกลงระหว่างประเทศ และวีซ่า เพื่อตอบสนองต่อ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจภายใต้ตรรกะเสรีนิยมใหม่และการสร้างภาพลักษณ์สังคมพหุวัฒนธรรม ของออสเตรเลีย 2) บทบาทครอบครัว ที่มีทั้งอำนวยความสะดวกให้เคลื่อนย้ายผ่านการสนับสนุนทุน ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ การศึกษา รับฟังความคิดเห็นและให้อิสระในการเลือก ขณะที่ก็สร้างแรง เสียดทานให้หยุดเคลื่อนย้ายเช่นกัน ประการที่สอง หนุ่มสาวไทยที่เข้าสู่สถานะ "นักท่องเที่ยวแรงงาน" แม้ด้านหนึ่งถูกมองว่าได้ ประโยชน์จากการเรียนรู้ โลกใบใหม่จากการเดินทาง แต่อีกด้านกลับพบว่า กฎเกณฑ์วีซ่าที่ให้สถานะ หลักเป็นนักท่องเที่ยว และสถานะรองเป็นแรงงานช้ายถิ่นชั่วคราว ส่งผลให้กลุ่มคนเหล่านี้ไม่ได้รับ การปกป้องในฐานะแรงงาน กลายเป็นแรงงานไร้ทักษะ ทำงาน ไม่ตรงวุฒิการศึกษาหรือศักยภาพ ได้ ค่าแรงต่ำ ไร้อำนาจต่อรองกับนายจ้าง และถูกเอ าเปรียบจากนายจ้างและนายหน้าค้าแรงงาน ภายใต้ สภาวะดังกล่าว หนุ่มสาวไทยปรับจุดเผชิญหน้าด้วยยุทธวิธีหลากหลาย ได้แก่ 1) ใช้ทุนด้านต่างๆ ที่ สั่งสมมาจัดการปัญหาเฉพาะหน้า 2) สร้างเครือข่ายทางสังคมใหม่ในกลุ่มคนไทยเพื่อให้การใช้ชีวิต ในที่ใหม่มีความเป็นไปได้ เครือข่ายทางสังคมใหม่นี้ยังช่วยต่อรองหลีกเร้นข้อบังคับของรัฐ และถูกใช้ ในการเลื่อนชั้นทางสังคมในประเทศปลายทางด้วย | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610431004 รสริน คุณชม.pdf | 5.24 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.