Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำผึ้ง อินทะเนตร-
dc.contributor.authorสุกฤษฏิ์ ศรีมาen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T10:24:45Z-
dc.date.available2023-07-11T10:24:45Z-
dc.date.issued2565-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78430-
dc.description.abstractThe purpose of this research consists of 1) to develop indicators of educational innovation thinking skills of teacher 2) to examine goodness-of-fit between structural equation modeling of educational innovation thinking skills of teacher and empirical data and 3) to classify and explain the differences between the teacher group based on their individual personality and Characteristics of educational innovation thinking skills. Samples in the research were 7 experts and teacher officials under the Upper Northern Secondary Educational Service Area Office was 327 teachers. The research instruments were educational innovation thinking skills of teacher questionnaire with 5-rating scales and 62 questions with the discrimination value was between 0.381 to 0.825, t-test value was between 3.819 to 8.738, and the overall reliability value of 0.966. The data are additionally analyzed by using the descriptive statistics, the 2" confirmatory factor analysis (2nd CFA), and the latent profile analysis (LPA). The findings were as follows. 1) The components and indicators of educational innovation thinking skills of teacher consists of 6 components and 15 indicators. Factor 1 - paying attention consists of 3 indicators, factor 2 - personalizing consists of indicators, factor 3 - imaging consists of 2 indicators, factor - 4 1earning from learning consists of 3 indicators, factor 5 - collaborative inquiry consists of 2 indicators, and factor 6 - making decision consists of 2 indicators. 2) The measurement model of educational innovation thinking skills of teacher had good- of-fit with the empirical data with X2 = 101.461, df = 84, p-value = 0.094, CFI = 0.995, TLI = 0.994 , SRMR = 0.033, and RMSEA = 0.025. The weight of each indicator in first-order CFA was positive with statistical significance at the level of .01 and all indicators were measurable. There are factor loadings of second-order CFA in range 0.693 to 0.995. The factors that have the highest factor loading is imagination, personalization, and learning from playing respectively. 3) The results of classifying the teachers according to their individual personality and characteristics of educational innovation thinking skills can be divided into 3 groups. The first group consists of teachers who have basic educational innovation thinking skills (10.70%) and have medium level of educational innovation thinking skills, the second group consists of teachers who have educational innovation thinking skills in term of collaboration and brainstorning (49.57%) and have high level of educational innovation thinking skills, and the third group consists of teachers who expert in educational innovation thinking skills (39.76%) and have highest level of educational innovation thinking skills in every indicators.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจำแนกกลุ่มครูด้านทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษา: การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์โปรไฟล์en_US
dc.title.alternativeClassification on educational innovation thinking skills of teacher: an application of latent profile analysisen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashครู-
thailis.controlvocab.thashทักษะทางการคิด-
thailis.controlvocab.thashความคิดและการคิด-
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษา ของครู 2) ตรวจสอบความตรงของโมเดลการวัดทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษาของครู และ 3) จำแนกกลุ่มของครูตามคุณลักษณะทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษาโดยใช้การ วิเคราะห์ โปรไฟล์ ตัวอย่างในงานวิจัยคือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 ท่าน และครูสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในเขตภาคเหนือตอนบน จำนวน 327 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลาย ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัคทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทาง การศึกษาของครู มีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 62 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนก ตั้งแต่ 0.381 ถึง 0.825 ผลการทดสอบที มีค่าตั้งแต่ 3.819 ถึง 8.738 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.966 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง และการวิเคราะห์โปรไฟล์ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษาของครูประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 15 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การให้ความสนใจ ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 การเข้าใจคุณลักษณะส่วนบุคคล ประกอบด้วย 2 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 3 การถ่ายทอดจินตนาการ ประกอบด้วย 2 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 4 การเรียนรู้จากการเล่น ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 5 การร่วมมือในการสืบค้น ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ และ องค์ประกอบที่ 6 การพิจารณาตัดสินใจ ประกอบด้วย 2 ตัวบ่งชี้ 2) โมเดลการวัดทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษาของครูมีความสอดคล้อง กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่า x2= 101.461, df = 84, p-value = 0.094, CFI = 0.995, TLI = 0.994, SRMR = 0.033 และ RMSEA = 0.025 เมื่อพิจารณาองค์ประกอบลำดับที่ 1 พบว่า ตัวบ่งชี้ทุก ตัวในทุกองค์ประกอบมีน้ำหนักองค์ประกอบที่ต่างจากศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0l มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบในลำดับที่ 2 อยู่ในช่วง 0.693 ถึง 0.995 และเมื่อพิจารณาองค์ประกอบ ลำดับที่ 1 พบว่า ตัวบ่งชี้ทุกตัวในทุกองค์ประกอบมีน้ำหนักองค์ประกอบที่ต่างจากศูนย์อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 องค์ประกอบที่มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด คือ การถ่ายทอด จินตนาการ รองลงมาคือ การเข้าใจคุณลักษณะส่วนบุคคลและการเรียนรู้จากการเล่น ตามลำดับ 3) ผลการจำแนกกลุ่มของครูตามคุณลักษณะทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษา สามารถจัดได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 กลุ่มครูที่มีทักษะการคิดเชิงนวัดกรรมระดับพื้นฐาน (10.70%) มีทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มที่ 2 กลุ่มครูที่มีทักษะการคิด เชิงนวัตกรรมระดับสูง (49.54%) สามารถอาศัยการทำงานร่วมกันและการระคมความคิดเพื่อสร้าง นวัตกรรมได้ กลุ่มที่ 3 กลุ่มครูที่มีทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมระดับเชี่ยวชาญ (39.76%) มีทักษะการ คิดเชิงนวัตกรรมทางการศึกษาอยู่ในระดับสูงทุกตัวบ่งชี้และมีค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ทุกตัวบ่งชี้สูงกว่า กลุ่มอื่นen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232008 สุกฤษฏิ์ ศรีมา.pdf7.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.