Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78416
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Prapas Patchanee | - |
dc.contributor.advisor | Pakpoom Tadee | - |
dc.contributor.advisor | Suwit Chotinun | - |
dc.contributor.advisor | Phongsakorn Chuammitri | - |
dc.contributor.author | Tunyamai Buawiratlert | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T00:55:49Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T00:55:49Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78416 | - |
dc.description.abstract | Non-typhoidal Salmonella (NTS) is one of the most contagious foodborne infections and continues to be a major global health threat in both human and veterinary medicine. Poultry meat was one of the important sources of NTS spreading and tended to be highly resistant to antibiotics. The objective of this study was to identify the prevalence, serotypes, and antimicrobial-resistant patterns of Salmonella that were present in broiler farms and poultry slaughterhouses in an intensive farming region in the upper northern part of Thailand from August to October 2019. Fifty samples of boot swabs were collected from 50 broiler farms, 50 cecal samples, and 250 neck skin samples from slaughterhouses. Salmonella was identified by culture method and serum-agglutination and antimicrobial susceptibility testing was performed using the automated VITEK-2 compact system. This study's total prevalence of Salmonella was 53.71% (n=188/350). We found that 53% (159/300) of cecal and neck skin samples were collected from slaughterhouses and 58% (29/50) of boot swabs collected from broiler farms were positive for NTS. Twenty-four serotypes of NTS were identified, the most encountered was S. Kentucky. Most of the serotypes were found in neck skin samples, followed by cecal and fecal samples. The antimicrobial-resistant patterns showed that all the strains were non-susceptible to amikacin, cefalexin, cephalothin, and gentamicin and were susceptible to imipenem, neomycin, and nitrofurantoin. The NTS prevalence in samples from broiler farms was slightly higher than in poultry slaughterhouses, indicating that there was contamination in the farming and slaughtering processes. Therefore, it is important to take into consideration both antimicrobial usage and hygienic standards for broiler production. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Salmonella linkaged between good agricultural practice certified broiler farms and poultry slaughterhouses in an intensive farming area in upper northern part of Thailand | en_US |
dc.title.alternative | ความเชื่อมโยงของเชื้อแซลโมเนลลาระหว่างฟาร์มไก่กระทงที่ได้รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีกับโรงฆ่าสัตวปีกใน พื้นที่ที่มีการเลี้ยงหนาแน่นในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Salmonella -- Northern Thailand | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Poultry -- Feeding and feeds | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Broilers (Chickens) -- Feeding and feeds | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Slaughtering and slaughter-houses -- Northern Thailand | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เชื้อแซลโมเนลลาเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหารที่มีความสำคัญ ทั้งในทางการแพทย์ และการสัตวแพทย์ ซึ่งมีการศึกษาบ่งชี้ว่าเชื้อแซลโมเนลลาที่เพาะแยกได้จากสัตว์ปีกมีชีวิตและซากสัตว์ปีกมีแนวโน้มสูงที่จะดื้อต่อยาปฏิชีวนะ การศึกษาครั้งนี้จึงเป็นการศึกษาเพื่อหาความชุกของเชื้อแซลโมเนลลาและศึกษาลักษณะทางซีโรไทป์ และรูปแบบการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อแซลโมเนลลาที่แพร่กระจายอยู่ในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงไก่กระทงหนาแน่นในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม 2562 ทำการตรวจยืนยันเชื้อแซลโมเนลลาโดย ISO 6579:2002 Amendment 1:2007 method จากนั้นคัดเลือกตัวอย่างที่ได้รับการยืนยันผลไปทำการตรวจลักษณะทางซีโรไทป์ด้วย White-Kauffmann-Le Minor scheme และตรวจการดื้อต่อยาปฏิชีวนะโดยการตรวจ VITEK 2 gram negative susceptibility cards ผลการศึกษาความชุกของเชื้อแซลโมเนลลาพบความชุกของเชื้อแซลโมเนลลาทั้งหมดร้อยละ 53.71 (n=188/350, 95% CI= 48.33-59.03) โดยแยกความชุกจากแหล่งที่มาของการเก็บตัวอย่าง ได้แก่ ความชุกของเชื้อแซลโมเนลลาจากโรงฆ่าสัตว์ปีกร้อยละ 53 (n=159/300, 95% CI= 47.18-58.76) และความชุกของเชื้อแซลโมเนลลาจากฟาร์มไก่กระทงที่ได้รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีร้อยละ 58 (n=29/50, 95% CI= 43.21-71.81)ในส่วนของลักษณะทางซีโรไทป์ พบ S. Kentucky มากที่สุด จากลักษณะทางซีโรไทป์ที่ตรวจพบทั้งสิ้น 24 ซีโรไทป์ ผลการศึกษารูปแบบการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อแซลโมเนลลาพบว่ามีการดื้อต่อยา Amikacin Cefalexin Cefalotin และ Gentamicin และมีความไวต่อยาปฏิชีวนะ Imipenem Neomycin และ Nitrofurantoin จากผลของความชุกที่มีความแตกต่างกันไม่มากในระดับฟาร์มและโรงฆ่าสัตว์ปีกบ่งชี้ถึงการปนเปื้อนของเชื้อแซลโมเนลลาทั้งในกระบวนการเลี้ยงไก่กระทงและกระบวนการฆ่าในโรงฆ่าสัตว์ปีก ดังนั้นการดำเนินมาตรการควบคุมเชื้อแซลโมเนลลาในระบบการผลิตไก่กระทง ทั้งระดับฟาร์มและโรงฆ่าสัตว์จึงเป็นมาตรการสำคัญที่ต้องดำเนินการเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดการปนเปื้อนของเชื้อแซลโมเนลลา รวมทั้งการใช้ยาปฏิชีวนะในระบบอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกมีความจำเป็นที่จะต้องใช้อย่างเหมาะสม เพื่อลดการเกิดอุบัติการณ์การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อแซลโมเนลลาต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | VET: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611435912-TUNYAMAI BUAWIRATLERT.pdf | Thesis | 2.09 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.