Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorก้องภู นิมานันท์-
dc.contributor.authorชัญญา อยู่เจริญศาen_US
dc.date.accessioned2023-07-10T00:42:37Z-
dc.date.available2023-07-10T00:42:37Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78407-
dc.description.abstractThis independent study aims to study about analysis of problems and threats of agriculture product exporters exporting from Chiang Mai province using Value chain model. Questionnaire is used as the tool to collect data from 96 exporters that registered with department of Agriculture. The research is analyzed with descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and Crosstabs with export’s quantity and export’s value. The finding of the research shows that most exporters is export product around 500 – 999 Kilograms, Export value around 1,000,001 – 5 million Thai baht, monthly income more than 10 years. According to the research, problem and threats using value chain model in overview items of services ranks in the highest mean, procurement, outbound logistics, marketing and sales, inbound logistics, firm infrastructure, human resources management, operation, technology development respectively. The minor factors which contain the highest means in each category shows that the inbound logistics suppliers lack of experience about export product. Operation provide space of storage of fresh products are limited. Outbound logistics provides export regulations are strict. Marketing and sales provide inefficient of marketing plan. Services provide the product has delayed to foreign customers, cause to customers was dissatisfied. Firm infrastructure provides long term debt. Human resources management provide lack of labors. Technology development provide lack of employee with technology skill. Procurement provides package’s price was high. Analyzed by using crosstabs about of problems and threats of agriculture product exporters crosstab with export’s quantity per time found that top 5 problems and threats (rank in every issue are highest mean and not sort) the same issue was found in group of exporters that export agriculture products in quantity of less than 500 kilograms per time, 500-999 kilograms per time , 1-5 tons per time , and more than 5 tons per time provide export regulations are strict and product has delayed to foreign customers, cause to customers was dissatisfied.Same issue was found in group of exporters that export agriculture products in quantity of less than 500 kilograms and 500 – 999 kilograms provide long term of collect debt and lack of labors. Same issue was found in group of exporters that export agriculture products in quantity of 1-5 tons and more than 5 tons provide inefficient of marketing plan. The problems and threats were found only exporters that export agriculture products in quantity of less than 500 kilograms provides not enough of some goods and services. The problems and threats were found only exporters that export agriculture products in quantity of 500 – 999 kilograms provides foreign intermediary was purchase from supplier and export to their country by themselves, so it causes for higher competition. The problems and threats were found only exporters that export agriculture products in quantity 1 – 5 tons provides package’s price was high. Analyzed by using crosstabs about of problems and threats of agriculture product exporters crosstab with export’s value per time found that top 5 problems and threats (rank in every issue are highest mean and not sort) the same issue was found in group of exporters that export agriculture products with 500,000 – 1 million baht per time, 1,000,001 – 5 million baht per time, and more than 5 million baht per time provide export regulations are strict and product has delayed to foreign customers, cause to customers was dissatisfied. same issue was found in group of exporters that export agriculture products with 500,000 – 1 million baht and 1,000,001 – 5 million baht provide long tern of collect debt and inefficient of marketing plan. The problems and threats were found only exporters that export agriculture products with 500,000 – 1 million baht per time provides each department lack of continuity. The problems and threats were found only exporters that export agriculture products with 1,000,001 – 5 million baht provides package’s price was high. The problems and threats were found only exporters that export agriculture products more than 5 million baht provide supplier was lack of transportation’s experience, about storage have mood and products color was distorted, temperature of transportation was unsteady, and foreign intermediary was purchase from supplier and export to their country by themselves.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectธุรกิจส่งออกสินค้าการเกษตรen_US
dc.subjectAgriculture Product Exporters Exportingen_US
dc.titleการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในธุรกิจส่งออกสินค้าการเกษตรของผู้ส่งออกที่ส่งออกจากจังหวัดเชียงใหม่ ด้วยตัวแบบห่วงโซ่แห่งคุณค่าen_US
dc.title.alternativeAnalysis of problems and threats of agriculture product exporters exporting from Chiang Mai Province by using value chain modelen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสินค้าเกษตร -- การส่งออก-
thailis.controlvocab.thashสินค้าเกษตร -- การตลาด-
thailis.controlvocab.thashสินค้าเกษตร -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการจัดการธุรกิจ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้เป็นการศึกษาปัญหาและอุปสรรคในธุรกิจส่งออกสินค้าการเกษตรของผู้ส่งออกที่ทำการส่งออกจากจังหวัดเชียงใหม่ ด้วยตัวแบบห่วงโซ่แห่งคุณค่า โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ส่งออกสินค้าเกษตรที่ขึ้นทะเบียนกับด่านตรวจพืชท่าอากาศยานเชียงใหม่ จำนวน 96 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการแจกแจงแบบไขว้ (Crosstabs) โดยจำแนกตามปริมาณการส่งออก และมูลค่าการส่งออก ผลการศึกษาพบว่า ผู้ส่งออกส่วนใหญ่มีจำนวนส่งออก 500 – 999 กิโลกรัม มีมูลค่าการส่งออก 1,000,001 – 5 ล้านบาทต่อครั้ง มีรายได้ต่อเดือน 5,000,001 – 10 ล้านบาทต่อเดือน มีอายุกิจการ 10 ปีขึ้นไป จากการศึกษาปัญหาและอุปสรรคตามตัวแบบห่วงโซ่แห่งคุณค่าในภาพรวมการบริการมีค่าเฉลี่ยระดับการมีผลมากที่สุด รองลงมาคือ การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบ การขนส่งขาออก การตลาดและการขาย การขนส่งขาเข้า โครงสร้างพื้นฐานทางธุรกิจ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การปฏิบัติงาน และการพัฒนาด้านเทคโนโลยี ตามลำดับ และปัจจัยย่อยในแต่ละด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้าน พบว่า ด้านการขนส่งขาเข้าได้แก่ ผู้ส่งมอบขาดประสบการณ์ในการขนส่ง ด้านการปฏิบัติงานได้แก่ พื้นที่จัดเก็บสินค้าสดมีพื้นที่จำกัด ด้านการขนส่งขาออกได้แก่ กฎระเบียบการส่งออกเข้มงวดทำให้การส่งออกล่าช้า ด้านการตลาดและการขายได้แก่ การกำหนดแผนการตลาดขาดประสิทธิภาพ ด้านการบริการได้แก่ สินค้าไปถึงลูกค้าต่างประเทศล่าช้าทำให้ลูกค้าไม่พึงพอใจ ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางธุรกิจได้แก่ ระยะเวลาเก็บหนี้นยาวนาน ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้แก่ แรงงานไม่เพียงพอ ด้านการพัฒนาด้านเทคโนโลยีได้แก่ ขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบได้แก่ กล่องบรรจุภัณฑ์มีราคาแพง ผลวิเคราะห์การแจกแจงแบบไขว้ของปัญหาและอุปสรรคในธุรกิจส่งออกกับจำนวนการส่งออกต่อครั้ง พบว่าปัจจัยย่อยของปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจส่งออกของผู้ส่งออกตามจำนวนการส่งออก 5 อันดับแรกของแต่ละกลุ่ม (โดยทุกปัจจัยย่อยมีค่าเฉลี่ยระดับการมีผลในระดับมากที่สุด และไม่ได้เรียงลำดับ) พบประเด็นที่เหมือนกันของกลุ่มผู้ส่งออกสินค้าที่มีจำนวนส่งออก ต่ำกว่า 500 กิโลกรัม, 500- 999 กิโลกรัม, 1 – 5 ตัน และ มากกว่า 5 ตัน พบเหมือนกันทั้ง 4 กลุ่ม คือ กฎระเบียบการส่งออกเข้มงวด ทำให้การส่งออกล่าช้า และสินค้าไปถึงลูกค้าต่างประเทศล่าช้า ทำให้ลูกค้าไม่พึงพอใจ ประเด็นที่กลุ่มผู้ส่งออกสินค้าที่มีจำนวนส่งออกต่อครั้ง ต่ำกว่า 500 กิโลกรัม, 500-999 กิโลกรัม, และ มากกว่า 5 ตัน พบเหมือนกันทั้ง 3 กลุ่ม คือ ระยะเวลาเก็บหนี้ยาวนาน และแรงงานไม่เพียงพอ ประเด็นที่กลุ่มผู้ส่งออกสินค้าที่มีจำนวนส่งออกต่อครั้ง 1 – 5 ตัน, และ มากกว่า 5 ตัน พบเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม คือ การกำหนดแผนการตลาดขาดประสิทธิภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่พบเฉพาะในผู้ส่งออกที่มีปริมาณการส่งออก ต่ำกว่า 500 กิโลกรัมคือ ผู้ส่งมอบสินค้าและบริการบางชนิดไม่เพียงพอ ปัญหาและอุปสรรคที่พบเฉพาะในผู้ส่งออกที่มีปริมาณการส่งออก 500 - 999 กิโลกรัมคือ พ่อค้าต่างประเทศเข้ามาตั้งจุดรับซื้อในประเทศ ทำให้เกิดการแข่งขันสูง และปัญหาและอุปสรรคที่พบเฉพาะในผู้ส่งออกที่มีปริมาณการส่งออก 1 – 5 ตัน คือ กล่องบรรจุภัณฑ์มีราคาแพง และผลวิเคราะห์การแจกแจงแบบไขว้ของปัญหาและอุปสรรคในธุรกิจส่งออกกับมูลค่าการส่งออกต่อครั้ง พบว่าปัจจัยย่อยของปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจส่งออกของผู้ส่งออกตามจำนวนการส่งออก 5 อันดับแรกของแต่ละกลุ่ม (โดยทุกปัจจัยย่อยมีค่าเฉลี่ยระดับการมีผลในระดับมากที่สุด และไม่ได้เรียงลำดับ) ผู้ส่งออกสินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกต่อครั้ง 500,000 – 1 ล้านบาท, 1,000,001 – 5 ล้านบาท, และมากกว่า 5 ล้านบาท พบเหมือนกันทั้ง 3 กลุ่ม คือ กฎระเบียบการส่งออกเข้มงวด ทำให้การส่งออกล่าช้า และสินค้าไปถึงลูกค้าต่างประเทศล่าช้า ทำให้ลูกค้าไม่พึงพอใจ ผู้ส่งออกสินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกต่อครั้ง 500,000 – 1 ล้านบาท และ1,000,001 – 5 ล้านบาท พบเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม คือ ระยะเวลาเก็บหนี้ยาวนาน และการกำหนดแผนการตลาดขาดประสิทธิภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่พบเฉพาะในผู้ส่งออกที่มีมูลค่าการส่งออก 500,000 – 1 ล้านบาท คือ แต่ละแผนกขาดความต่อเนื่องของบางกิจกรรม ปัญหาและอุปสรรคที่พบเฉพาะในผู้ส่งออกที่มีมูลค่าการส่งออก 1,000,001 – 5 ล้านบาท คือ กล่องบรรจุภัณฑ์มีราคาแพง ปัญหาและอุปสรรคที่พบเฉพาะในผู้ส่งออกที่มีมูลค่าการส่งออก มากกว่า 5 ล้านบาท คือ ผู้ส่งมอบขาดประสบการณ์ในการขนส่ง, ในการจัดเก็บสินค้าเกิดเชื้อราและมีการเปลี่ยนสี, ระหว่างการขนส่งสินค้าไปยังต่างประเทศอุณหภูมิไม่คงที่ ทำให้สินค้าเกิดความเสียหาย, และ พ่อค้าต่างประเทศเข้ามาตั้งจุดรับซื้อในประเทศ ทำให้เกิดการแข่งขันสูงen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532054-ชัญญา อยู่เจริญศา.pdf19.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.