Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorอุเทน อลังการนันท์en_US
dc.date.accessioned2023-07-09T07:16:41Z-
dc.date.available2023-07-09T07:16:41Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78404-
dc.description.abstractThis study aimed to assess learning organization of the Quality Ceramic Company Limited. Data were gathered from the total of 789 employees of the studied company, as the research population. The DLOQ questionnaire was applied to evaluate 7 dimensions of the learning organization. Data were analyzed by the descriptive statistics i.e frequency, percentage, mean, and standard deviation. The findings presented that most respondents (57.3%) were female in the age of 25-30 years old (27.4%) with less than 3 years’ experience (42.4%). Their education background was high-school/high-vocational certificate level or equivalence (44.0%) and their average monthly income was 10,000-15,000 Baht (43%). 51.8% of the respondents were single. The findings also revealed that 522 employees (72.70%), which was regarded as the most employees, were in the position of daily hire employee; 231 employees (25.20%) were in the position of operation staff; and 16 employees (2.10%) were in the position of executives. Results of the evaluation of learning organization indicated that the learning organization of the studied company was often observed in both overall perspectives and in every single dimension. Following were respectively shown the list of dimensions with the highest evaluation scores and the dimensions with the lowest evaluation scores: learning encouragement from the leadership role model (3.80%); promoting inquiry and dialogue (3.73%); encouraging collaboration and team learning (3.68%), connecting the organization to its environment (3.67%), creating systems to capture and share learning (3.62%); empowering people toward a collective vision (3.60%); and creating continuous learning opportunities (3.56%). For those who were in the same groups of gender and age and those who were in the different groups of years’ experience, the dimension that needed to be improved was the dimension of creating continuous learning opportunity through the offer of financial support or other forms of learning support. The results presented that those who were in the daily hire employee position gave the lowest scores on the evaluation. The employees with under 5 years’ experience gave evaluation scores to the dimension of empowering people toward a collective vision less than other dimensions, while the employees with over 6 years’ experience rated the evaluation scores for the dimension of creating continuous learning opportunities less than other dimensions.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของ บริษัท ควอลิตี้เซรามิก จำกัดen_US
dc.title.alternativeEvaluation of learning organization of Quality Ceramic company limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบริษัท ควอลิตี้เซรามิก จำกัด-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาองค์การ-
thailis.controlvocab.thashการจัดองค์การ-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้องค์การ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ควอลิตี้เซรามิก จำกัด เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร คือ พนักงานทั้งหมด จำนวน 789 คน โดยใช้แบบสอบถาม DLOQ ประเมินความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 7 มิติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 57.3 อายุ 25-30 ปี ร้อยละ 27.4 อายุงานต่ำกว่า 3 ปี ร้อยละ 42.4 ระดับการศึกษาสูงสุด คือ มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวส. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 44.0 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000-15,000 บาท ร้อยละ 43.0 และมีสถานภาพโสด ร้อยละ 51.8 โดยมีบุคลากรตำแหน่งพนักงานรายวันมากที่สุด จำนวน 522 คน หรือร้อยละ 72.70 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ 231 คน หรือร้อยละ 25.20 และผู้บริหาร 16 คน หรือร้อยละ 2.10 การประเมินมิติแห่งการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พบว่า ทั้งในภาพรวมและรายมิติอปรากฎค่อนข้างบ่อย โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยการประเมินสูงสุดสุดไปต่ำสุด คือ มิติการให้ภาวะผู้นำต้นแบบส่งเสริมการเรียนรู้ (ค่าเฉลี่ย 3.80) รองลงมาเป็น มิติการสนับสนุนให้ซักถามและสนทนา (ค่าเฉลี่ย 3.73) มิติการส่งเสริมการร่วมมือกันและการเรียนรู้เป็นทีม (ค่าเฉลี่ย 3.68) มิติการเชื่อมโยงองค์กรกับสภาพแวดล้อม (ค่าเฉลี่ย 3.67) มิติการสร้างระบบรับและการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ (ค่าเฉลี่ย 3.62) มิติการให้อำนาจสอดคล้องกับวิสัยทัศน์องค์กร (ค่าเฉลี่ย 3.60) และมิติการสร้างโอกาสเรียนรู้ให้ต่อเนื่อง (ค่าเฉลี่ย 3.56) บุคลากรที่มีเพศ ตำแหน่งงาน อายุงานแตกต่างกัน มิติที่ควรพัฒนาเหมือนกัน คือ มิติการสร้างโอกาสเรียนรู้ให้ต่อเนื่อง ด้วยการสนับสนุนเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนรู้ โดยพนักงานรายวันเป็นกลุ่มที่ประเมินค่าเฉลี่ยต่ำสุด และบุคลากรที่มีอายุงานต่ำกว่า 5 ปี ประเมินมิติการให้อำนาจสอดคล้องกับวิสัยทัศน์องค์กรต่ำกว่ามิติอื่น เมื่ออายุงาน 6 ปี ขึ้นไปประเมินมิติการสร้างโอกาสเรียนรู้ให้ต่อเนื่องต่ำกว่ามิติอื่นen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532054 - อุเทน อลังการนันท์.pdf3.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.