Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78375
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญชีวัน บัวแดง-
dc.contributor.authorสฤษดิ์ สิริธีรธำรงen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T04:16:59Z-
dc.date.available2023-07-09T04:16:59Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78375-
dc.description.abstractThis research aims to examine the proliferation of alternative beliefs and practices groups in the context of Modernity in Thailand, through case studies of Goenka’s Vipassana group in Thailand. I argue that Goenka’s group is a modern world Buddhist-based spiritual practices group which intended to transform individual’s inner-self. This research contains 3 research question (1) How does the modernization affected Thai’s religious landscape (2) How is Goenka’s meditation practice different from another group (3) How does Goenka Vipassana practice fulfilled spiritual needs of individual. The study found that, modernization of Thailand has led to the change of Thai’s religious landscape in three main features: First, modernization causes State-Buddhism to decline. Second, modernization has altered individual’s religious worldview. Third, modernization of Thailand facilitating the widespread of alternative beliefs and practices groups especially Goenka Vipassana group. In addition, both Goenka’s teachings and organization not only reflect the characteristics of group’s Buddhist-based spirituality practice, but also able to fulfill the spiritual needs of individuals who are searching for tools or a way to achieve inner-self transformation. The process of self-transformation within the Goenka’s Vipassana technique relies on two mechanisms; firstly, transformation of habitual webs of association. Secondly, transformation of habitual Automatism. This mechanism allows self to be transform through the process of self-learning to alter the way which self is react to the world. In other words, Goenka’s Vipassana practice is a form of spiritual practice that empowers the individuals from within, enabling them to becoming new and better self.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมาธิ, โกเอ็นก้า, จิตวิญญาณ, ศาสนาen_US
dc.titleชุมชนจิตวิญญาณในโลกสมัยใหม่: กรณีศึกษากลุ่มวิปัสสนาโกเอ็นก้าในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSpiritual communities in modern world: Case study of Goenka Vipassana Group in Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวิปัสสนา-
thailis.controlvocab.thashกรรมฐาน-
thailis.controlvocab.thashสมาธิ-
thailis.controlvocab.thashจิตวิญญาณ-
thailis.controlvocab.thashพุทธศาสนา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพน์ฉบับนี้ศึกษาปรากฏการณ์การขยายตัวของกลุ่มความเชื่อและการปฏิบัติทางเลือกภายใต้บริบทความเป็นสมัยใหม่ในไทยผ่านกรณีศึกษากลุ่มปฏิบัติวิปัสสนาโกเอ็นก้าในประเทศไทย ผู้วิจัยเสนอว่า กลุ่มโกเอ็นก้าเป็นกลุ่มปฏิบัติทางจิตวิญญาณเชิงพุทธในโลกสมัยใหม่ที่มุ่งเปลี่ยนแปลงตัวตนของปัจเจก งานวิจัยชิ้นนี้มีคำถามการวิจัยสามข้อ 3 ได้แก่ (1) การเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นสมัยใหม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางศาสนาอย่างไร (2) การปฏิบัติสมาธิของโกเอ็นก้าแตกต่างจากลุ่มอื่นอย่างไร (3) การปฏิบัติวิปัสสนาของโกเอ็นก้าตอบสนองความต้องการของปัจเจกอย่างไร จากการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นสมัยใหม่ของไทยส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางศาสนาของไทยสามประการคือ หนึ่งทำให้พุทธศาสนาแบบสถาบันเสื่อมถอยลง สองทำให้โลกทัศน์ทางศาสนาของปัจเจกเปลี่ยนแปลงไป สามทำให้กลุ่มความเชื่อและการปฏิบัติทางเลือกขยายตัวขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มปฏิบัติวิปัสสนาโกเอ็นก้า ทั้งคำสอนและการจัดการองค์กรของโกเอ็นก้าสะท้อนให้เห็นลักษณะของการเป็นการปฏิบัติทางจิตวิญญาณเชิงพุทธ นอกจากนี้ การปฏิบัติของกลุ่มโกเอ็นก้ายังสามารถตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณของปัจเจกที่กำลังค้นหาเครื่องมือหรือหนทางในการเปลี่ยนแปลงตัวตน กระบวนการเปลี่ยนแปลงตัวตนของการวิปัสสนาของโกเอ็นก้าอาศัยกลไกสองส่วนคือ การเปลี่ยนแปลงเครือข่ายความสัมพันธ์ของปัจเจกและการเปลี่ยนแปลงแบบแผนพฤติกรรมของปัจเจก ซึ่งกระบวนการดังกล่าวทำให้ปัจเจกเกิดกระบวนการเรียนรู้และสามารถเปลี่ยนแปลงตัวตนได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า การปฏิบัติวิปัสสนาของโกเอ็นก้าเป็นการปฏิบัติที่เสริมสร้างอำนาจจากภายในของปัจเจกทำให้ปัจเจกสามารถจินตนาการถึงการกลายเป็นตัวตนใหม่ได้en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610431005-สฤษดิ์ สิริธีรธำรง.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.