Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78374
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนัฐจิรา บุศย์ดี-
dc.contributor.authorธนจิรวัฒน์ ศรีสุธัญญาวงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-07-09T04:12:20Z-
dc.date.available2023-07-09T04:12:20Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78374-
dc.description.abstractThe objectives of this study are to conduct action research to find out and study the outcomes of employing game-based learning methods in promoting algebraic thinking skills among second-year high school students in separating components of quadratic polynomials with one variable. The target population for this research comprised 18 second-year high school students in the second semester of academic year 2022 from Wat Tha Satoei Municipality School. The study utilized a range of research tools, including (1) a learning management plan comprising 12 plans that utilize games as a basis for teaching, with four key steps: 1) lesson introduction, 2) learning activities 3) summary of results, and 4) evaluation; (2) a test to assess mathematical thinking abilities (3) a teaching record form. 1) An approach to organizing game-based learning activities to promote algebraic thinking on factoring of two-univariable two-degree polynomials of Grade 8 students. Games are an effective way to promote students' algebraic thinking, especially in the topic of factoring single-degree polynomials. Methods for organizing game-based learning activities include starting with concrete examples, using pictures, providing timely feedback. Encouraging collaboration, gradually increasing the difficulty of the game and making the game fun. 2) The results of implementing a game-based learning approach to promote algebraic thinking skills in the topic of factoring quadratic polynomials with one variable among second-year high school students are as follows: The average score was 1.69 out of 4, consisting of three aspects: 1. Fundamental knowledge of numbers and nouns for factoring quadratic polynomials with one variable, 2. Basic understanding of the structure of factoring quadratic polynomials with one variable, and 3. Application of basic structure in factoring quadratic polynomials with one or multiple variables. The average scores for these aspects were 2.24, 1.57, and 1.26, respectively, which are at the intermediate level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวโดยใช้เกมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงพีชคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeOrganization of learning activities on the factorization of one variable two-degree polynomial using games-based learning to promote algebraic thinking of grade 8 studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพีชคณิต-
thailis.controlvocab.thashพีชคณิต -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashตัวประกอบ (พีชคณิต)-
thailis.controlvocab.thashเกม-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางและศึกษาผลของแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงพีชคณิตในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเทศบาลวัดท่าสะต๋อย จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวจำนวน 12 แผน การจัดการเรียนรู้มีทั้งหมด 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการนำเข้าสู่บทเรียน 2) ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ขั้นสรุปผล และ 4) ขั้นประเมินผล ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้เกมได้ในทุกขั้นตอน (2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดเชิงพีชคณิต (3) แบบสะท้อนผลการเรียนรู้ของนักเรียน ผลวิจัยพบว่า 1) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงพีชคณิตในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ากิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเกมเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการคิดเชิงพีชคณิตของนักเรียนโดยเฉพาะในหัวข้อการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ได้แก่ การเริ่มต้นด้วยตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม การใช้ภาพแทน การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างทันท่วงที การส่งเสริมการทำงานร่วมกัน การค่อย ๆ เพิ่มความยากของเกมและการทำให้เกมสนุก 2) ผลของแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงพีชคณิตในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ย 1.69 เต็ม 4 คะแนน ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ 1. การรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนและเอกนามสำหรับการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว 2.การรู้โครงสร้างพื้นฐานของการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว 3. การนำโครงสร้างพื้นฐานไปประยุกต์ใช้ในการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวหรือหลายตัวแปร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.24 ,1.57 ,1.26 ตามลำดับซึ่งอยู่ระดับปานกลางen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.