Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78366
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sulak Sumitsawan | - |
dc.contributor.author | Paveenuch Akaraparthanameitee | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T09:46:18Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T09:46:18Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78366 | - |
dc.description.abstract | This study investigated the potential of a TiO2-biochar composite photocatalyst for removing dye contaminants from wastewater. Biochar was produced from corn stalks via pyrolysis and was combined with synthetic TiO2 to CB0.1/1, CB0.2/1, CB0.5/1, and CB1/1. The reactivity of the photocatalysts was evaluated by oxidizing methylene blue and wastewater. BET analysis showed that CB500 had a surface area and porosity of 13.73 m2/g and 0.042 cm3/g, respectively. XRD analysis showed that the synthetic TiO2 matched the reference, with a conspicuous peak at 2θ = 25.3 degrees connected to the crystal plane of Anatase TiO2. The reactivity of photocatalysts was assessed through the oxidation of methylene blue and wastewater. The TiO2-biochar composite exhibited exceptional photocatalytic activity due to its high anatase content, resulting in markedly greater dye adsorption than individual components. Additionally, the CB0.1/1 composite successfully decolorized wastewater under UV-A, with a nearly 85% decrease in color within the initial 10 minutes. The findings demonstrate that the TiO2-biochar composite holds great promise for efficient wastewater treatment. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | decolorization; wastewater; biochar; titanium dioxide; photocatalysis | en_US |
dc.title | Decolorization Of wastewater by photocatalysis using cornstalk biochar embedded titanium dioxide | en_US |
dc.title.alternative | การกำจัดสีของน้ำเสียด้วยกระบวนการโฟโตคาตาไลซิสโดยใช้ถ่านชีวภาพต้นข้าวโพดพดที่ตรึงไทเทเนียมไดออกไซด์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Sewage | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Sewage -- Purification | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Water -- Pollution | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Biochar | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Photocatalysis | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้เป็นการศึกษาการกำจัดสีของน้ำเสียด้วยกระบวนการโฟโตคาตาไลซิสโดยใช้ถ่านชีวภาพต้นข้าวโพดที่ตรึงไทเทเนียมไดออกไซด์ โดยถ่านชีวภาพผลิตจากต้นข้าวโพดจะผ่านกระบวนวิธีไพโรไลซิสและรวมกับ TiO2 ในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน เพื่อสังเคราะห์เป็นไทเทเนียมไดออกไซด์ตรึงบนถ่านชีวภาพจากต้นข้าวโพด CB0.1/1, CB0.2/1, CB0.5/1 และ CB1/1 ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวถูกนำมาประเมินประสิทธิภาพด้วยการออกซิไดซ์เมทิลีนบลูและน้ำเสียจากอุตสาหกรรมกระดาษ ทั้งนี้การวิเคราะห์ BET พบว่า CB500 มีพื้นที่ผิวมากที่สุด มีค่า 13.73 ตร.ม./ก. และมีความพรุนเท่ากับ 0.042 ซม.3/ก. การวิเคราะห์ด้วย XRD แสดงให้เห็นว่า TiO2 ที่สังเคราะห์ได้มีผลึก ในรูปแบบของ Anatase เป็นส่วนใหญ่ ปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงได้รับการประเมินผ่านปฏิกิริยาออกซิเดชันของเมทิลีนบลูและน้ำเสียจากโรงงานกระดาษ คอมโพสิต TiO2-ถ่านถ่านชีวภาพแสดงกิจกรรมโฟโตคะตาไลติกที่ดีเยี่ยมเนื่องจากมีปริมาณผลึกแบบ Anatase สูงร่วมกับพื้นที่ผิวมาก ส่งผลให้การดูดซับสีย้อมได้ดีกว่าส่วนประกอบแต่ละส่วนที่แยกออกจากกันอย่างชัดเจน นอกจากนี้วัสดุผสม CB0.1/1 ประสบความสำเร็จในการลดสีของน้ำเสียภายใต้รังสี UV-A โดยที่สามารถลดสีลงเกือบ 85% ภายใน 10 นาทีแรก การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าวัสดุผสมระหว่าง TiO2 และ ถ่านชีวภาพมีแนวโน้มที่ดีสำหรับการบำบัดน้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631065 - Paveenuch Akaraparthanameitee.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.