Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78363
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัทนินทร์ มนตรีขจร-
dc.contributor.advisorสุทธิชัย กฤษณะประกรกิจ-
dc.contributor.authorณัฐอรญ์ ธนัยนพรัตน์en_US
dc.date.accessioned2023-07-07T09:36:02Z-
dc.date.available2023-07-07T09:36:02Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78363-
dc.description.abstractCannabidiol (CBD), a cannabinoid component of Cannabis sativa that does not exert any psychological effect, has been widely utilized for several medical purposes. CBD is known for its analgesic, anti-inflammatory, and osteogenic properties. Periodontitis is a common oral disease that ultimately leads to alveolar bone destruction and tooth loss. This study aimed to investigate the proliferative and differentiative effects of CBD in human osteoblasts harvested from alveolar bone. Method: To determine the cytotoxicity of CBD, primary osteoblasts were treated with various doses of CBD for 24 h and then analyzed by an MTT assay. Furthermore, the proliferative effect of CBD was determined by a Bromodeoxyuridine (BrdU) assay. Differentiation and biomineralization of treated osteoblasts were examined by alkaline phosphatase (ALP), Alizarin Red, and Von Kossa staining, and confirmed by mRNA expressions of runt-related transcription factor (RUNX2), osteocalcin (OC), alkaline phosphatase (ALPL), bone sialoprotein (BSP), type I collagen (COL1A1), and transforming growth factor-beta1(TGF-β1). Result: No cytotoxicity was found in the osteoblasts upon treatment with CBD up to 10 µM. The mean percentages of proliferation in the osteoblasts were significantly increased by treatment with CBD from 0.01 to 10 µM (p<0.05). The staining revealed significant increases in osteoblastic differentiation and biomineralization (p<0.05). Moreover, mRNA expressions of several osteoblast- specific genes, including RUNX2, OC, BSP, and TGF-β1, were significantly up-regulated by treatment with CBD (p<0.05). Conclusion: The findings¬¬ from this study ind¬icate that CBD can induce proliferation and differentiation of osteoblast cells, isolated from human alveolar bone, resulting in promotion of biomineralization.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาผลของสารแคนนาบิไดออลต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์และการเปลี่ยนแปลงของเซลล์สร้างกระดูกปฐมภูมิของมนุษย์en_US
dc.title.alternativeProliferative and differentiative effects of cannabidiol in primary human osteoblastsen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashเซลล์สร้างกระดูก-
thailis.controlvocab.thashเซลล์กระดูก-
thailis.controlvocab.thashแคนนาบิไดออล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแคนนาบิไดออล (Cannabidiol; CBD) เป็นสารประกอบสำคัญของพืชกัญชา หรือ Cannabis sativa ที่ไม่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท มีการนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายเพื่อวัตถุประสงค์ในทางการแพทย์ สาร CBD มีคุณสมบัติที่สำคัญคือการลดอาการปวด ต้านการอักเสบ และส่งเสริมในกระบวนการสร้างกระดูก โดยโรคปริทันต์อักเสบเป็นโรคในช่องปากที่พบได้โดยทั่วไป และเป็นโรคที่มีการละลายของกระดูกที่รองรับรากฟัน และนำไปสู่การสูญเสียฟันในเวลาต่อมา การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสาร CBD ต่อการกระตุ้นการเพิ่มจำนวนเซลล์ และการเปลี่ยนแปลงของเซลล์สร้างกระดูกปฐมภูมิของมนุษย์จากกระดูกขากรรไกร วิธีการ: เพื่อทดสอบความเป็นพิษของสาร CBD ต่อเซลล์สร้างกระดูกปฐมภูมิของมนุษย์ โดยเซลล์จะถูกกระตุ้นด้วยสาร CBD เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นทำการทดสอบด้วยวิธีเอ็มทีที นอกจากนี้จะทำการทดสอบผลของสาร CBD ต่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์ด้วยวิธีบีอาร์ดียู การเปลี่ยนแปลงของเซลล์และการสะสมแร่ธาตุระหว่างเซลล์จะถูกทดสอบด้วยการย้อมสีอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส Alizarin Red และ Von Kossa จากนั้นทำการยืนยันผลโดยการแสดงออกของยีนที่เป็นตัวชี้วัดของเซลล์สร้างกระดูก ได้แก่ runt-related transcription factor (RUNX2), osteocalcin (OC), alkaline phosphatase (ALPL), bone sialoprotein (BSP), collagen type I (COL1A1) และ transforming growth factor-beta1(TGF-β1). ผลการศึกษา: ไม่พบความเป็นพิษต่อเซลล์สร้างกระดูกเมื่อทำการกระตุ้นด้วยสาร CBD ที่มีความเข้มข้นสูงถึง 10 µM พบร้อยละค่าเฉลี่ยของการเพิ่มจำนวนในเซลล์สร้างกระดูกเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 0.01 µM ถึง 10 µM (p<0.05) การย้อมสีเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงเซลล์และการสะสมแร่ธาตุระหว่างเซลล์นั้นพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของสีที่ย้อมอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) นอกจากนี้ยังพบว่ามีการแสดงออกของยีนที่เป็นตัวชี้วัดเซลล์สร้างกระดูก ได้แก่ RUNX2, OC, BSP และ TGF-β1 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อได้รับการกระตุ้นด้วยสาร CBD (p<0.05) สรุป: การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าสาร CBD สามารถเหนี่ยวนำการเพิ่มจำนวนเซลล์ และการเปลี่ยนแปลงของเซลล์สร้างกระดูกปฐมภูมิของมนุษย์จากกระดูกขากรรไกร และส่งผลให้เกิดการส่งเสริมการสร้างแร่ธาตุระหว่างเซลล์ในการสร้างกระดูกได้en_US
Appears in Collections:DENT: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.