Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78361
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรัทยา ชินกรรม | - |
dc.contributor.advisor | กัญญ์สุดา นิ่มอนุสสรณ์กุล | - |
dc.contributor.author | ปัญจพร เริงสนาม | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T09:25:38Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T09:25:38Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78361 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to analyze and compare well-being indices between Bangkok and Chiang Mai populations. The relationship between personal characteristics and well-being indices for each aspect among the Bangkok and Chiang Mai population. By studying the well-being at the individual level of the population living in Bangkok. Moreover, Chiang Mai Used a sample of 800 people and a descriptive analysis method using statistics including frequency, percentage and chi-square test. The study found striking similarities in personal characteristics between the two groups. Most of the samples were female and female. They have a bachelor's degree and work in the private sector. However, the factors affecting their well-being differ significantly in the two cities. While education, occupation, family and transportation had a higher impact in both cities, factors such as health, housing, social connections, and economic status had a higher impact in Chiang Mai than in Bangkok. Hypothesis testing revealed significant differences in well-being according to education level, occupation, and monthly income. Housing type and the number of children in both cities. However, other factors, such as the number of years of residence and the amount of debt, significantly impacted Chiang Mai alone. The study also found no difference in well-being between the sexes. This indicates a step towards gender equality in these area. Therefore, a development approach should support economic growth and development. The economic aspect affects well-being at a high level. Therefore, there should be support for economic growth. attract investment and create employment opportunities These can increase efficiency. By promoting adaptation and supporting various small industries and supporting business tourism. create jobs for local people and increasing income equality to improve the well-being of individuals. Including the vocational skills development program Small business support and reducing income inequality. including improving the health infrastructure A high recognition trend in health requires guaranteed access to quality health services. Investment in public health facilities public health personnel training and increasing health education in order to maintain and improve well-being in this area. Sustainable transport and communication should also be promoted. Because the level of well-being in transportation and communication is high. should develop a better public transport system Promote sustainable modes of transport and improve communication networks in the area. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวัดระดับความอยู่ดีมีสุขของประชากรในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Measurement of individual well-being level of people in bangkok and Chiang Mai | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | สุขภาวะ -- กรุงเทพฯ | - |
thailis.controlvocab.thash | สุขภาวะ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | คุณภาพชีวิต | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสุข | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบดัชนีความอยู่ดีมีสุขระหว่างประชากรในพื้นที่กรุงเทพมหานครและเชียงใหม่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและดัชนีความอยู่ดีมีสุขระหว่างประชากรในพื้นที่กรุงเทพมหานครและเชียงใหม่ โดยทำการศึกษาความอยู่ดีมีสุขของประชากรที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดเชียงใหม่ ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 800 คน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา การใช้สถิติ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และการทดสอบไคสแควร์ (chi-square) จากการศึกษา พบความคล้ายคลึงกันในด้านลักษณะส่วนบุคคลระหว่างทั้งสองกลุ่ม โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และทำงานในภาคเอกชน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของกรุงเทพมหานครและจังหวัดเชียงใหม่มีผลแตกต่างกันอย่างมาก ในขณะที่การศึกษา อาชีพ ครอบครัว และการคมนาคมมีผลกระทบสูงในทั้งพื้นที่ ปัจจัยต่าง ๆ เช่น สุขภาพ ที่อยู่อาศัย และสถานะทางเศรษฐกิจมีผลกระทบสูงกว่าในเชียงใหม่เมื่อเทียบกับกรุงเทพมหานคร และยังเผยให้เห็นความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในด้านความเป็นอยู่ตามระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน ประเภทที่อยู่อาศัย และจำนวนบุตรของทั้งสองพื้นที่ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยอื่น ๆ เช่น จำนวนปีที่อยู่อาศัยและภาระหนี้สินมีผลกระทบอย่างมากเฉพาะในเชียงใหม่เท่านั้น การศึกษายังพบว่าไม่มีความแตกต่างในความเป็นอยู่ที่ดีระหว่างเพศ ซึ่งบ่งชี้ถึงการก้าวไปสู่ความเท่าเทียมทางเพศในประเด็นเหล่านี้ ดังนั้น แนวทางให้การพัฒนาควรสนับสนุนการเติบโตและพัฒนาเศรษฐกิจ เนื่องจากด้านเศรษฐกิจมีผลต่อความอยู่ดีมีสุขอยู่ในระดับสูง จึงควรมีการสนับสนุนการเติบโตเศรษฐกิจ ดึงดูดการลงทุน และสร้างโอกาสในการจ้างงาน สิ่งเหล่านี้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ โดยการส่งเสริมการปรับตัวและการสนับสนุนอุตสาหกรรมรายย่อยต่าง ๆ และการสนับสนุนเชิงท่องเที่ยวทางธุรกิจ สร้างงานให้แก่คนในพื้นที่ และเพิ่มความเสมอภาคระหว่างรายได้เพื่อปรับปรุงความอยู่ดีมีสุขของบุคคล รวมถึงโครงการพัฒนาทักษะอาชีพ การสนับสนุนกิจการขนาดย่อย และการลดความไม่เสมอทางรายได้ รวมถึงปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านสุขภาพ กระแสการเป็นที่ยอมรับสูงในเรื่องสุขภาพต้องได้รับการรับรองในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพ การลงทุนในสถานบริการด้านสาธารณะสุข การฝึกอบรมบุคลากรด้านสาธารณะสุข และการเพิ่มการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพเพื่อให้สามารถรักษาและพัฒนาความอยู่ดีมีสุขในด้านนี้ได้ นอกจากนี้ ควรส่งเสริมการคมนาคมและการสื่อสารที่ยั่งยืน เนื่องจากระดับความอยู่ดีมีสุขด้านการคมนาคมและการสื่อสารอยู่ในระดับสูง ควรมีการพัฒนาระบบการขนส่งสาธารณะที่ดีขึ้น ส่งเสริมรูปแบบการขนส่งที่เป็นสิ่งที่ยั่งยืนและปรับปรุงเครือข่ายการสื่อสารในพื้นที่ สิ่งเหล่านี้สามารถช่วยเพิ่มความอยู่ดีมีสุขให้กับประชากรได้ดียิ่งขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611631012 - ปัญจพร เริงสนาม.pdf | 18.2 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.