Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78313
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Anucha Sathanawongs | - |
dc.contributor.advisor | Phongsakorn Chuammitri | - |
dc.contributor.advisor | Korawan Sringarm | - |
dc.contributor.advisor | Sukolrat Boonyayatra | - |
dc.contributor.author | Marvin Bryan Segundo Salinas | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-04T10:48:45Z | - |
dc.date.available | 2023-07-04T10:48:45Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78313 | - |
dc.description.abstract | The isolation and cryopreservation of cauda epididymal spermatozoa (ES) open new horizons for assisted reproductive technologies and animal genetic resource banking. However, variations in sperm freezability challenge the significance and potential applications of these techniques. Therefore, this groundwork in swamp buffalo (Bubalus bubalis) distinguished high (HF) and low (LF) freezability ES by analyzing conventional sperm parameters and protein expressions following slow-freezing procedures. ES were recovered from the cauda epididymis of 18 individual swamp buffaloes after their humane slaughter. After cryopreservation, ES samples were categorized into HF and LF using post-thaw sperm motility. Sperm motion, kinematics and velocity and membrane integrity were assessed using computer-assisted sperm analysis (CASA) and hypo-osmotic swelling test (HOST), respectively. Accordingly, reactive oxygen species (ROS) generation and lipid peroxidation were also measured via fluorescence staining and thiobarbituric reactive substances (TBARS) assay. Proteins of interest, namely ATP synthase subunit beta 1 (ATP1B1) and glutathione S-transferase Mu 3 (GSTM3), were also examined for their presence in fixed cauda tissues via immunohistochemistry and relatively quantified from ES through Western blot. Results revealed that all CASA parameters except wobble, linearity, and straightness were significantly higher in HF as compared to LF. However, there were no substantial differences in plasma membrane integrity among freezability groups after a hypo-osmotic state. Nevertheless, the amounts of ROS and MDA were considerably greater in LF than HF. ATP1B1 and GSTM3 proteins were also found to appear in the luminal ES and the epididymal tubular epithelium. While ATP1B1 levels were comparable between freezability clusters, the abundance of GSTM3 significantly differs between HF and LF, perhaps due to the protein's protective role against oxidative stress. These findings suggest that the variabilities in slow-freezing responses may be used to differentiate freezability phenotypes in the swamp buffalo ES. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Effects of conventional slow freezing on the freezability of the Buffalo Epididymal Spermatozoa | en_US |
dc.title.alternative | ผลของการแช่แข็งแบบลดอุณหภูมิอย่างช้าต่อความสามารถในการแช่แข็งของตัวอสุจิจากอีพิดิไดมิสกระบือ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Water buffalo -- Spermatozoa | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Veterinary medicine | - |
thailis.controlvocab.thash | Frozen semen | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การแยกเก็บและการเก็บรักษาตัวอสุจิด้วยความเย็นของตัวอสุจิจาก cauda epididymis (ES) ถือเป็นการเปิดโลกทัศน์ใหม่สำหรับเทค โนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์และธนาคารทรัพยากรพันธุกรรม อย่างไรก็ตามความผันแปรของความสามารถในการแช่แข็งของอสุจินั้นยังเป็นสิ่งที่ท้าทายความสำคัญ และศักยภาพของเทคนิคเหล่านี้ งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาถึงการแยกแยะความสามารถในการแช่แข็ง น้ำเชื้อกระบือปลักออกเป็น high (HE) และ low (LF) freezability โดยทำการตรวจคุณภาพน้ำเชื้อและ การแสดงออกของโปรตีนภายหลังจากกรแช่แข็งน้ำชื้อด้วยวิธีการแช่แข็งน้ำเชื้อแบบช้าทั่วไป ทำ การเก็บตัวอสุจิจาก cauda epididymis ของกระบือปลักภายหลังจากการฆ่าที่โรงฆ่าสัตว์ จำนวน 18 ตัว ทำการตรวจคุณภาพน้ำเชื้อภายหลังจากกระบวนการแช่แข็งในส่วนของอัตราการเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ เพื่อแยกออกเป็น 2 กลุ่ม คือ HF และ LF ทำการตรวจคุณภาพน้ำเชื้อในส่วนของการเคลื่อนที่ จลนศาสตร์ และความเร็วของตัวอสุจิด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (computer-assisted sperm analysis, CASA) และประสิทธิภาพของเยื่อหุ้มตัวอสุจิด้วยวิธี hypo-osmotic swelling test (HOST) ร่วมกับการ ตรวจวัดการสร้างปฏิกริยาต่อสปีชีส์ออกซิเจน (ROs) และลิพิดเปอออกซิเดชันผ่านการย้อมสีด้วยสาร เรืองแสงและการทดสอบสารทำปฏิกิริยาไช โอบาร์บิทูริก (TBARS) โดยใช้โปรตีนที่สนใจ ได้แก่ ATP synthase subunit beta 1 (ATP1B1) และ glutathione S-transferase Mu 3 (GSTM3) ตรวจสอบ การแสดงออกในเนื้อเยื่อ ES ผ่านการข้อมสีด้วยเทกนิค immunohistochemistry และหาปริมาณของ โปรตีนด้วยวิธี Western blot ผลพบว่า พารามิเตอร์คุณภาพน้ำเชื้อจากการตรวจด้วย CASA ทั้งหมดยกเว้น wobble, linearity และ straightness ในกลุ่ม HF สูงกว่า LF อย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามไม่มี ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในความประสิทธิภาพของเยื่อหุ้มตัวอสุจิระหว่างกลุ่ม ซึ่งบ่งบอกถึง ความสามารถในการแช่แข็งได้หลังจากสถานะไฮโปออสโมติก ส่วนปริมาณของ ROS และ MDA ใน กลุ่ม LF มีค่ามากกว่า HF อย่างมาก นอกจากนี้ขังพบว่าโปรตีน ATP1B1 และ GSTM3 แสดงออก ภายในท่อและเยื่อบุผิวของ ES ในขณะที่ปริมาณ ATPIB1 นั้นไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนโปรตีน GSTM3 ระหว่าง HF และ LF มีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องมาจากบทบาทของโปรตีนที่ด้าน ความเครียดจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน สรุปได้ว่าตัวชี้วัดในการ ทนต่อกระบวนการแช่แข็งแบบช้า สามารถนำมาใช้เพื่อแยกความแตกต่างทางฟีโนไทป์ของ ES เพื่อระบุความสามารถในการแช่แข็ง น้ำเชื้อของกระบือปลัก | en_US |
Appears in Collections: | VET: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631435803 MARVIN BRYAN SALINAS.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.