Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ สุทธิสุขวรพงษ์en_US
dc.date.accessioned2023-07-04T00:59:58Z-
dc.date.available2023-07-04T00:59:58Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78304-
dc.description.abstractThe research on “The Success of the development of Freshwater Fish Products Processing Community Enterprise Groups, LamLukKa district, PathumThani province” aimed 1) to study key successful factors of the development of freshwater fish products processing community enterprises in the area of LamLukKa district, PathumThani province, 2) to study operational guidelines of freshwater fish products processing community enterprises towards community economy promotion in LamLukKa district, PathumThani province and 3) to study problems and obstacles in the operations of freshwater fish products processing community enterprises in the area of LamLukKa district, PathumThani province. The study was conducted using a qualitative research and quantitative research design. A 3-point rating scale questionnaire, namely, high, moderate and low levels and an interview with 3 groups of persons participating in the internal operations of the community enterprises in LamLukKa district, PathumThani province were used to collect data. The community enterprises include: 1) Catfish Products Processing Khlong 5 Community Enterprise Group in the area of Bueng KhamProi sub-dsitrict, LamLukKa district, PathumThani province, the group consists of 18 members; 2) Catfish Herbal Products Processing Housewife Group Community Enterprise in the area of Bueng KhamProi sub- dsitrict, LamLukKa district, PathumThani province, the group consists of 23 members and 3) Lam Sai Pattana Community Enterprise Group in LamSai sub-district, LamLukKa district, PathumThani province, the group consists of 15 members. Therefore, there are totally 56 members. The values of each group were calculated and compared among 3 groups to find out different success value; high, moderate, low, of the development of the community enterprise groups. The findings from the study showed that the community enterprise group having the highest success of the development of freshwater fish products processing community enterprise groups in the area of LamLukKa district, PathumThani province was the community enterprise group 2 - Catfish Herbal Products Processing Housewife Group Community Enterprise since it was established in 1998 longer than the community enterprise group 1 and 3. There were factors leading to the success of the group development in terms of group management. The group received many awards. In terms of leadership - the group leader had good knowledge and understanding of conducting business, making its members had positive attitude, security and were satisfied with dividends they received. The group 1 - Catfish Products Processing Khlong 5 Community Enterprise Group and the group 3 - Lam Sai Pattana Community Enterprise Group were established after the group 2. They received a smaller number of awards guaranteeing their success and factors leading to the success of group management, leadership and members’ attitudes gradually grow along the growth of the community enterprises respectivelyen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสำเร็จของการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนประเภทแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืด อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeThe Success of the development of community enterprise group in freshwater fish processing in Lamlukka District, Phathumthani Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashปลาน้ำจืด -- ลำลูกกา (ปทุมธานี)-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์ปลา-
thailis.controlvocab.thashปลาน้ำจืด -- การแปรรูป-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์ปลา - - ลำลูกกา (ปทุมธานี)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง "ความสำเร็จของการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนประเภทแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืด อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี" มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืดในพื้นที่อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืดต่อการส่งเสริมเศรษฐกิจภายในชุมชนในพื้นที่อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี และ 3) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืดในพื้นที่อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Quaiative Research) และ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง น้อย และการสัมภาษณ์ไปยังกลุ่มผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาดุกคลองห้า ในพื้นที่ตำบลบึงคำพร้อย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวนสมาชิก 18 คน 2) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านแปรรูปปลาดุกสมุนไพรในพื้นที่ ตำบลบึงคำพร้อย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวนสมาชิก 23 คน และ 3) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลำไทรพัฒนาในพื้นที่ ตำบลลำไทร อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวนสมาชิก 15 คน รวมสมาชิกทั้งหมด 56 คน โดยจะคิดคำนวณหาค่าของแต่ละกลุ่มออกมาแล้วนำมาใช้เปรียบเทียบกันระหว่าง 3 กลุ่มเพื่อหาค่าความสำเร็จของการพัฒนากลุ่มว่าออกมา มาก ปานกลาง น้อย แตกต่างกันอย่างไร ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืด ในพื้นที่อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดคือ กลุ่มที่ 2 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านแปรรูปปลาดุกสมุนไพร เนื่องจากได้ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2541 ซึ่งมีระยะเวลายาวนานกว่ากลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 โดยที่มีปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการพัฒนากลุ่มด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ซึ่งกลุ่มได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย ด้านภาวะความเป็นผู้นำผู้นำกลุ่มนั้นมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการทำธุรกิจเป็นอย่างดี ตลอดจนทำให้ทัศนคติของสมาชิกเกิดความมั่นคงและพอใจกับเงินปันผลที่ได้รับ ซึ่งในขณะที่กลุ่มที่ 1 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาดุกคลองห้าและกลุ่มที่ 3 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลำไทรพัฒนา ได้ก่อตั้งขึ้นหลังจากกลุ่มที่ 1 ตามลำดับ ตลอดจนการได้รับรางวัลต่าง ๆ ยังมีรางวัลในการการันตีความสำเร็จน้อยกว่าด้วย และปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านภาวะผู้นำ และทัศนคติของสมาชิกอยู่ในช่วงเวลาที่ค่อย ๆ เติบโตของกลุ่มตามลำดับen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.