Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78302
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิโรตม์ คุณกิตติ-
dc.contributor.authorพีรพัฒน์ อันทะราสีen_US
dc.date.accessioned2023-07-04T00:53:05Z-
dc.date.available2023-07-04T00:53:05Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78302-
dc.description.abstractThe fast development of electric vehicles has resulted in several topics of research in this area, such as the development of a charging pricing strategy, charging control, location of the charging station, and the structure within the charging station. This paper proposes the optimal design of the structure of an EV fast-charging station (EVFCS) connected with a renewable energy source and battery energy storage systems (BESS) by using metaheuristic algorithms. The optimal design of this structure aims to find the number and power of chargers. Moreover, the renewable energy source and BESS can reduce the impact on the grid, so these energy sources are considered as one of the optimally-designed structure of EVFCS in this work. Thus, it is necessary to determine the optimal sizing of the renewable energy source, BESS, and the grid power connected to EVFCS. This optimal structure can improve the profitability of the station. To solve the optimization problem, three metaheuristic algorithms, including particle swarm optimization (PSO), Salp swarm algorithm (SSA), and arithmetic optimization algorithm (AOA), are adopted. These algorithms aim to find the optimal structure which maximizes the profit of the EVFCS determined by its net present value (NPV), and the results obtained from these algorithms were compared. The results demonstrate that all considered algorithms could find feasible solutions for the optimal design for the EVFCS structure where PSO provided the best NPV, followed by AOA and SSA.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectยานยนต์ไฟฟ้าen_US
dc.subjectสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วen_US
dc.subjectพลังงานหมุนเวียนen_US
dc.subjectเมตาฮิวริสติก อัลกอริทึมen_US
dc.titleการออกแบบที่เหมาะสมที่สุดของโครงสร้างสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วen_US
dc.title.alternativeOptimal design of electric vehicle fast-charging station’s structureen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashยานพาหนะไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashสนามไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashกระแสไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashพลังงานทดแทน-
thailis.controlvocab.thashเซลล์แสงอาทิตย์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการพัฒนาที่รวดเร็วของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าในปัจจุบัน ส่งผลให้เกิดงานวิจัยหลากหลายงานวิจัยในการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า เช่น การพัฒนากลยุทธ์การกำหนดราคาการอัดประจุไฟฟ้า การควบคุมการอัดประจุไฟฟ้า ตำแหน่งของสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าที่เหมาะสม และการออกแบบโครงสร้างภายในสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าที่เหมาะสม โดยในงานวิจัยนี้ได้มุ้งเน้นไปที่การออกแบบโครงสร้างของสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วที่เหมาะสมที่สุด ที่ได้ทำการเชื่อมต่อกับแหล่งผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทนและระบบกักเก็บพลังงาน โดยใช้เมตาฮิวริสติก อัลกอริทึม การออกแบบโครงสร้างของสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วที่เหมาะสมที่สุดนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำให้สถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วได้รับกำไรสูงสุดซึ่งวัดจากมูลค่าเงินปัจจุบันสุทธิและพิจารณาเป็นปัญหาการหาค่าสูงสุด ผ่านการกำหนดค่าโครงสร้างของสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วที่เหมาะสมที่สุด ที่ประกอบไปด้วย จำนวนและกำลังไฟฟ้าของหัวอัดประจุไฟฟ้า พื้นที่ที่ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาดของระบบกักเก็บพลังงาน และกำลังไฟฟ้าสูงสุดของโครงข่ายหลักที่เชื่อมต่อกับสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็ว และการกำหนดการไหลของพลังงานภายในสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วที่เหมาะสมที่สุด เพื่อแก้ปัญหาการหาค่าสูงสุดในงานวิจัยนี้ได้เลือกใช้เมตาฮิวริสติก อัลกอริทึม ทั้งหมดด้วยกัน 3 แบบ ได้แก่ Particle Swarm Optimization (PSO) Salp Swarm Algorithm (SSA) และ Arithmetic Optimization Algorithm (AOA) มาทำการแก้ปัญหานี้ โดยอัลกอริทึมเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อกำหนดโครงสร้างของสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วที่เหมาะสมที่สุด และกำหนดการไหลของพลังงานภายในสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วที่เหมาะสมที่สุด ที่จะทำให้สถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วได้รับกำไรสูงสุดโดยวัดจากมูลค่าเงินปัจจุบันสุทธิ และผลลัพธ์ที่ได้จากอัลกอริทึมเหล่านี้จะถูกเปรียบเทียบกัน โดยผลลัพธ์ที่ได้แสดงให้เห็นว่าอัลกอริทึมที่ได้รับการพิจารณาทั้งหมดสามารถแก้ปัญหาการหาค่าสูงสุดได้อย่างเหมาะสมที่สุดในการออกแบบโครงสร้างของสถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640631080 พีรพัฒน์ อันทะราสี.pdfได้ทำการแก้ไขตามที่ได้รับจากอีเมล9.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.