Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPhetcharee Rupavijetra-
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandala-
dc.contributor.authorSirima Youngwanen_US
dc.date.accessioned2023-07-04T00:42:21Z-
dc.date.available2023-07-04T00:42:21Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78295-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) demonstrate how to use ASEAN folktales as teaching materials in Content and Language Integrated Learning approach (CLIL) to support high school students to improve their English listening and speaking skills, as well as their cultural competence, 2) compare students’ English listening test scores before and after using CLIL with ASEAN folktales, 3) compare students’ English speaking test scores before and after using CLIL with ASEAN folktales, and 4) compare students’ cultural competence before and after using CLIL with ASEAN folktales. The target group was 15 students in grade 10 and 11 who enrolled in English as a supplementary class on the first semester of the academic year 2022. The research instruments consisted of 1) 9 CLIL lesson plans (20 hours) consisting of 7 chosen ASEAN folktales developed based on the 4Cs framework together with the CLIL matrix by Coyle, Hood, and Marsh (2010), 2) English listening tests, 3) English speaking tests, and 4) cultural competence self-assessment questionnaires. The pretest and posttest scores for English listening and speaking, as well as cultural competence, were computed and converted to mean scores, standard deviation, and percentages. The research findings indicated that using ASEAN folktales in content and language integrated learning helps students develop their English listening and speaking skills, as well as cultural competence (cultural awareness, cultural knowledge, and cultural skills). The average of posttest scores were higher than the average of pretest scores. Students improved their listening skills from 64.35 percent to 78.35 percent which is regraded as a good level. For the speaking skills, students achieved the speaking test scores from a failed level of 54.43 percent to a good level of 60.90 percent. In all three aspects of cultural competence, students progressed from a moderate level to a high level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectContent and Language Integrated Learning (CLIL)en_US
dc.subjectEnglish Listening-Speaking Skillsen_US
dc.subjectASEAN folktalesen_US
dc.subjectCultural competenceen_US
dc.subjectHigh School Studentsen_US
dc.titleContent and language integrated learning management with ASEAN folktales to develop English listening-speaking skills and cultural competence among high school studentsen_US
dc.title.alternativeการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเนื้อหาและภาษาผ่านการใช้นิทานพื้นบ้านอาเซียนเพื่อพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษและ สมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Study and teaching (Secondary)-
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Speech-
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Reading-
thailis.controlvocab.lcshFolk literature-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สาธิตการนำนิทานพื้นบ้านอาเซียนมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษรวมทั้งสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) เปรียบเทียบทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังเรียนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษาโดยใช้นิทานพื้นบ้านอาเซียน 3) เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังเรียนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษาโดยใช้นิทานพื้นบ้านอาเซียน และ 4) เปรียบเทียบสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของนักเรียนก่อนและหลังเรียนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษาโดยใช้นิทานพื้นบ้านอาเซียน โดยมีกลุ่มเป้าหมายการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมในโครงการเสริมทักษะคาบเรียนที่ 8 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเนื้อหาและภาษาโดยใช้นิทานอาเซียนจำนวน 7 ประเทศ ที่ได้ถูกปรับเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามหลัก 4Cs รวมทั้ง CLIL matrix โดย Coyle, Hood, และ Marsh (2010) จำนวน 9 แผน 20 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบทักษะการฟังภาษาอังกฤษ 3) แบบทดสอบทักษะการพูดภาษาอังกฤษ และ 4) แบบสอบถามประเมินตนเองเพื่อวัดสมรรถนะเชิงวัฒนธรรม ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการนำคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนทั้งหมดมาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเนื้อหาและภาษาผ่านการใช้นิทานพื้นบ้านอาเซียนสามารถช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษ ตลอดจนสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของนักเรียนได้ (ความตระหนักรู้ทางวัฒนธรรม ความรู้ทางวัฒนธรรม และทักษะทางวัฒนธรรม) โดยคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบก่อนเรียน โดยนักเรียนพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษจากร้อยละ 64.35 เป็นร้อยละ 78.35 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี นักเรียนพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษจากร้อยละ 54.43 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด เป็นร้อยละ 60.90 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี นักเรียนพัฒนาสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมทั้งสามด้านจากระดับปานกลางเป็นระดับสูงen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640232017-SIRIMA YOUNGWAN.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.