Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78274
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สร้อยสุดา วิทยากร | - |
dc.contributor.author | กัญจน์รัชต์ มหาธนนันท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T00:44:49Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T00:44:49Z | - |
dc.date.issued | 2022-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78274 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to 1) to decrease stereotypic behaviors of a student with severe autism spectrum disorder by using multi-sensory activities 2) to study using arm and hand ability of a student with severe autism spectrum disorder for functional movement in order to work. The case study, selected by purposive sampling, was 10 years old, male, diagnosed by a physician as severe autism spectrum disorder with sensory impairment, studying in primary level at special education school for children with disabilities who has the stereotypic behaviors of tapping fingers on objects in the hand, using objects to hit the other hand, clapping, and staring meaninglessly at the object in the hand while tapping fingers. These behaviors continued within 5 minutes span, repeated more than 35 times in forms of hyperactivity and restlessness. Parents also consented to participate in the research of using the multisensory activities decrease stereotypic behaviors of a student with severe autism spectrum disorder. The instruments that were used in this research included 1) stereotypic behaviors frequency observation in severe spectrum autism students. 2) the multi-sensory activities which consists of 4 Individual Implementation Plans (IIP) 3) an observation form on the abilities of used arms and hands while using the multisensory activities 4) Reinforcement assessment form. The researchers performed 4multisensory activities per week, for 8weeks, resulting in a total of 32 sessions. The data was analyzed with mean, percentage, standard deviation, and descriptive analysis. The results showed that after using multi-sensory activities, the frequency’s stereotypic behaviors of severe autism spectrum decreased. The frequency of stereotypic behaviors before using the multi-sensory learning had a mean frequency of 35.8 times/period and standard deviation is 6.5. After using the multi-sensory learning had a mean frequency of 8.3 times/period and standard deviation is 3.2. In addition, it was found that the score of using arm and hand ability of the case study during 8 weeks of using multisensory activities improved sequentially. The case study clearly improved the ability of using arm and hand in terms of eye – hand coordination, prehension pattern, motor control, bilateral hand use and transfer of objects between hands. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | บุคคลออทิซึมสเปคตรัม | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมซ้ำ | en_US |
dc.subject | กิจกรรมพหุประสาทสัมผัส | en_US |
dc.subject | ความสามารถในการใช้แขนและมือ | en_US |
dc.title | การใช้กิจกรรมพหุประสาทสัมผัสเพื่อลดพฤติกรรมซ้ำของนักเรียนออทิซึมสเปคตรัมระดับรุนแรง | en_US |
dc.title.alternative | Using multisensory activities to decrease stereotypic behaviors of a student with severe autism spectrum disorder | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ออทิซึมสเปกตรัม | - |
thailis.controlvocab.thash | ออทิซึมสเปกตรัมในเด็ก | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็กออทิสติก -- การปรับพฤติกรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | พหุประสาทสัมผัส | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ลดพฤติกรรมซ้ำของนักเรียนออทิซึมสเปคตรัมระดับรุนแรงด้วยการใช้กิจกรรมพหุประสาทสัมผัส 2) ศึกษาความสามารถการใช้แขนและมือของนักเรียนออทิซึมสเปคตรัมระดับรุนแรงในขณะทำกิจกรรมพหุประสาทสัมผัส การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบกรณีศึกษา คัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 1 คน เพศชาย อายุ 10 ปี ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นบุคคลออทิซึมสเปคตรัมระดับรุนแรงร่วมกับภาวะบกพร่องการบูรณาการประสาทรับความรู้สึก เรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนเฉพาะความพิการในจังหวัดเชียงใหม่ มีพฤติกรรมซ้ำ คือ การเคาะนิ้วกับสิ่งของที่อยู่ในมือ การนำสิ่งของเคาะกับมืออีกข้าง การปรบมือ และจ้องมองสิ่งของในมือขณะที่เคาะนิ้วอย่างไม่มีความหมาย ต่อเนื่องภายใน 5 นาที มากกว่า 35 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้วิจัย ได้แก่ 1) แบบสังเกตความถี่พฤติกรรมซ้ำในนักเรียนออทิซึมสเปคตรัมระดับรุนแรง (แบบช่วงเวลา) 2) แผนจัดการเรียนรู้กิจกรรมพหุประสาทสัมผัส ประกอบไปด้วยแผนการสอนเฉพาะบุคคล จำนวน 4 แผน 3) แบบสังเกตรายการพฤติกรรมการใช้แขนและมือของนักเรียน 4) แบบประเมินสิ่งเสริมแรง ผู้วิจัยดำเนินการใช้กิจกรรมพหุประสาทสัมผัส สัปดาห์ละ 4 กิจกรรม เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ รวมทั้งสิ้น 32 ครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า หลังใช้กิจกรรมพหุประสาทสัมผัสความถี่พฤติกรรมซ้ำของนักเรียนออทิซึมสเปคตรัมระดับรุนแรงลดลง โดยความถี่พฤติกรรมซ้ำก่อนและหลังการใช้กิจกรรมพหุประสาทสัมผัส นักเรียนออทิซึมสเปคตรัมระดับรุนแรงมีความถี่ ค่าเฉลี่ย 35.8 ครั้ง/ช่วงเวลา ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.5 และ ค่าเฉลี่ย 8.3 ครั้ง/ช่วงเวลา ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.2 ตามลำดับ นอกจากนี้พบว่าคะแนนและระดับคุณภาพพฤติกรรมการใช้แขนและมือของกรณีศึกษาระหว่างทำกิจกรรมพหุประสาทสัมผัส จำนวน 8 ครั้ง ดีขึ้นอย่างเป็นลำดับ ในมิติของความสัมพันธ์ระหว่างการมองและการใช้มือ การใช้มือที่มีรูปแบบของการเอื้อม การกำ การนำที่มั่นคง และไม่หลีกหนี การควบคุม การทรงตัว เคลื่อนไหวแขน มือ และร่างกาย การใช้มือทั้งสองเข้ากลางลำตัว การควบคุมมือและนิ้วมือในการหยิบจับอุปกรณ์จากมือหนึ่งไปอีกมือหนึ่ง และการปล่อยวัตถุอย่างมีเป้าหมาย | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610232050 กัญจน์รัชต์ มหาธนนันท์.pdf | 5.61 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.