Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78259
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ก้องภู นิมานันท์ | - |
dc.contributor.author | ธัญญรัตน์ ใจน้อย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-01T07:25:30Z | - |
dc.date.available | 2023-07-01T07:25:30Z | - |
dc.date.issued | 2022-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78259 | - |
dc.description.abstract | The objective of the study Employee Work Motivation of the Faculty of Business Administration and Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Lanna was to investigate work motivating factors among the employees of The Faculty of Business Administration and Liberal Arts. The population was 142 employees. The instrument used to collect data was the questionnaire. The analysis was based on Herzberg's Two - Factor Theory. Motivation factors include achievement, recognition, work itself, responsibility, advancement, and growth. Hygiene factors include salary, company policy, administration, supervision, interpersonal relationships, working conditions, job security, and status. The data were analyzed using descriptive statistics and Importance -Performance Analysis (IPA) There were 142 respondents, including 109 academic employees and 33 support employees. The study results showed that most academic employees were female, 45-54 years old, single, and have master's degrees. They have been working for 6- 10 years, and most of them were university employees. Their monthly income was 30,001 - 40,000 baht. According to support employees, most were female, 25 - 34 years old, single, with Bachelor's degree. They have been working for 6 - 10 years, and most of them were university employees. Their monthly income was 10,001 -20,000 baht. From the analysis of motivating factors among the academic employees. It was found that the academic employees rated overall motivation factors at a high level. The three highest motivation factors were advancement, achievement, growth, respectively. Moreover, they rated the overall hygiene factors at a high level. The three highest hygiene factors were salary, job security, interpersonal relationship, respectively. The study found that the academic employees were satisfied with the overall motivation factors at a high level. They rated each of the factors at a high level. The highest motivation factors satisfied were achievement, responsibility, work itself, respectively. They also rated the overall hygiene factors at a high level. They also rated each of the factors at a high level. The three highest scores of satisfied hygiene factors were job security, interpersonal relationship, and salary. According to support employees, the overall motivation factors were rated at a high level. They also ranked each of the factors group at a high level. The highest three motivation factors were advancement, achievement, recognition, respectively. They rated the overall hygiene factors at a high level. They also ranked each of the factors group at a high level. The three highest scores in hygiene factors were interpersonal relationships, supervision, and working conditions. The support employees were satisfied with the overall motivation factors at a high level. They rated the overall hygiene factors at a high level with the highest scores in hygiene factors that satisfied interpersonal relationships, working conditions, and supervision. The highest scores in motivation factors were achievement, recognition, responsibility, respectively. From Importance-Performance Analysis for the academic employees, it was found that most sub-factors of motivating factors were in Quadrants A: Concentrate Here, and the most sub-factors of advancement were in Quadrants A: Concentrate Here. According to the hygiene factors, most subfactors were in Quadrants A: Concentrate Here. Moreover, the most sub-factors of salary were in Quadrants A: Concentrate Here. From Importance-Performance Analysis for the support employees, it was found that most sub-factors of motivating factors were in Quadrants B: Keep up good Work and only sub-factors of advancement were in Quadrants B: Keep up good Work. For the hygiene factors, it was found that most sub-factors of hygiene factors were Quadrants B: Keep up good Work, and the most sub-factors of Interpersonal Relationship were in Quadrants B: Keep up good. The study of support employees also found that the least sub-factors of motivating factors were Quadrants A: Concentrate Here, and only sub-factors of advancement were in Quadrants A: Concentrate Here. For the hygiene factors, it was found that most sub-factors of salary were in Quadrants A: Concentrate Here. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | Employee work motivation of the faculty of business administration and liberal arts, Rajamangala University of Technology Lanna | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การจูงใจในการทำงาน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจในการทำงาน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | สภาพแวดล้อมการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา -- บุคลากร | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาเรื่อง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโน โลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยจูงใจ ในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ จำนวน 142 ราย โดยยกเว้นคณะผู้บริหาร คณะฯ ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือ โดยใช้ทฤษฎีสองปัจจัยของ Herzberg เฮอร์ ซเบิร์ก ประกอบไปด้วย 2 ปัจจัยหลัก ได้แก่ 1. ปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors) จำนวน 6 ปัจจัย ประกอบด้วย ด้านความสัมฤทธิ์ผล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงาน ด้าน ความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ด้านความก้าวหน้าในการทำงาน และความเจริญเติบโต 2.ปัจจัยค้ำ จุน (Hygiene Factors) จำนวน 7 ปัจจัย ประกอบด้วย ด้านเงินเดือนหรือค่าตอบแทน ด้านนโยบายและ การบริหารองค์การ ด้านการปกครองบังคับบัญชาหรือการควบคุมดูแล ด้านความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล ด้านสภาพของการทำงาน ด้านความมั่นคงในงาน และสถานภาพในการทำงาน และนำมา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และใช้เครื่องมือ Importance - Performance Analysis (IPA) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 142 คน ซึ่งเป็นบุคลากรสาย วิชาการ จำนวน 109 คน และเป็นบุคลากรสายสนับสนุน จำนวน 33 คน โดยผลการศึกษาบุคลากรสาย วิชาการพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 45 - 54 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดับปริญญาโท อายุงานตั้งแต่ 6 - 10 ปี ประเภทการจ้าง คือ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ได้รับ ค่าตอบแทน 30,001 - 40,000 บาท และผลการศึกษาบุคลากรสายสนับสนุนพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง อายุระหว่าง 25 - 34 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดับปริญญาตรี อายุงานตั้งแต่ 6 - 10 ปี ประเภทการจ้าง คือ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ได้รับค่าตอบแทน 10,001 - 20,000 บาท ผลการศึกษาปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงาน บุคลากรสายวิชาการให้ความสำคัญต่อปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors) โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยแต่ละด้านเรียงลำดับ ค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญจากมากไปน้อยสามอันดับแรก คือ ด้านความก้าวหน้าในการทำงาน ด้าน ความสัมฤทธิ์ผล ด้านความเจริญเติบโต ตามลำดับ สำหรับปัจจัยอนามัย (Hygiene Factors) บุคลากร สายวิชาการ ให้ความสำคัญต่อปัจจัยอนามัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยแต่ ละด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญจากมากไปน้อยสามอันดับแรก คือ ด้านเงินเดือนหรือ ค่าตอบแทน ด้านความมั่นคงในงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ตามลำดับ สำหรับความพึงพอใจบุคลากร สายวิชาการ มีความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors) โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจต่อปัจจัยแต่ละด้านในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อยสามอันดับแรก คือ ด้านความสัมฤทธิ์ผล ด้าน ความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ด้านลักษณะของงาน ตามลำดับ สำหรับปัจจัยอนามัย (Hygiene Factors) บุคลากรสายวิชาการ มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจต่อปัจจัย แต่ละด้านในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อย สามอันดับแรก คือ ด้านความมั่นคงในงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านเงินเดือนหรือค่าตอบแทน ตามลำดับ ผลการศึกษาปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุนให้ความสำคัญต่อปัจจัยจูง ใจ (Motivation Factors) โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยแต่ละด้านในระดับมาก ทุกด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญจากมากไปน้อยสามอันดับแรก คือ ด้านความก้าวหน้าใน การทำงาน ด้านความสัมฤทธิ์ผล ด้าน การ ได้รั บความยอมรับนับถือตามลำดับ สำหรับปัจจัยอนามัย (Hygiene Factors) บุคลากรสายสนับสนุน ให้ความสำคัญต่อปัจจัยอนามัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยแต่ละด้านด้านในระดับมากทุกด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญ จากมากไปน้อขสามอันดับแรก คือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการปกครองบังคับบัญชา หรือการควบคุมดูแล ตามลำดับ สำหรับความพึงพอใจ บุคลากรสายสนับสนุนมีความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors) โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจต่อปัจจัยแต่ละด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ยระดับ ความพึงพอใจจากมากไปน้อยสามอันดับแรก คือ ด้านความสัมฤทธิ์ผล ด้านการได้รับความยอมรับ นับถือ ด้านความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ตามลำดับ สำหรับปัจจัยอนามัย (Hygiene Factors) บุคลากรสายสนับสนุน มีความพึงพอใจต่อปัจจัยอนามัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจ ต่อปัจจัยแต่ละด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อยสามอันดับแรกคือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านสภาพของการทำงาน ด้านการปกครองบังคับบัญชาหรือการควบคุมดูแลตามลำดับ ผลการศึกษาแนวคิดการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ Importance - Performance Analysis (IPA) พบว่าปัจจัยย่อยของปัจจัยจูงใจและปัจจัยอนามัยในการทำงานของบุคลากรสายวิชาการ อยู่ใน Quadrants A : Concentrate Here มากที่สุด โดยปัจจัยย่อยของปัจจัยจูงใจที่อยู่ใน Quadrants A : Concentrate Here เป็นปัจจัยย่อยของปัจจัยด้านความก้าวหน้าในการทำงานมากที่สุด และปัจจัยย่อย ของปัจจัยอนามัยที่อยู่ใน Quadrants A : Concentrate Here เป็นปัจจัยย่อยของปัจจัยด้านเงินเดือนหรือ ค่าตอบแทน มากที่สุด สำหรับผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ Importance - Performance Analysis (IPA) ของบุคลากรสายสนับสนุน พบว่าปัจจัยย่อยของปัจจัยจูงใจและปัจจัยอนามัยในการ ทำงานอยู่ใน Quadrants B : Keep up good Work มากที่สุด โดยปัจจัยย่อยของปัจจัยจูงใจที่อยู่ใน Quadrants B : Keep up good Work เป็นปัจจัยย่อยของปัจจัยด้านความสัมฤทธิ์ผล และด้านความ รับผิดชอบในหน้าที่มากที่สุด และปัจจัยย่อยของปัจจัยอนามัยที่อยู่ใน Quadrants B : Kccp up good Work เป็นปัจจัยย่อยในด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มากที่สุด และผลการศึกษาของบุคลากรสาย สนับสนุนยังพบว่าปัจจัยย่อยของปัจจัยจูงใจและปัจจัยอนามัยในการทำงานอยู่ใน Quadrants A : Concentrate Here จำนวนน้อยที่สุดโดยปัจจัยย่อยของปัจจัยจูงใจที่อยู่ใน Quadrants A : Concentratc Here มีเพียงปัจจัยย่อยของปัจจัยด้านความก้าวหน้าในการทำงาน เพียงด้านเดียว และปัจจัยย่อยของ ปัจจัยอนามัยที่อยู่ใน Quadrants A : Concentrate Here เป็นปัจจัยย่อยของปัจจัยด้านเงินเดือนหรือ ค่าตอบแทน มากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621532097 ธัญญรัตน์ ใจน้อย.pdf | 2.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.