Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78231
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูมิศร์ ทับทิมแดง-
dc.contributor.advisorกุลภา ชนะวรรโณ-
dc.contributor.authorนัชชา หน่อแก้วen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T10:09:19Z-
dc.date.available2023-06-29T10:09:19Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78231-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the effect of silver nanoparticles on the dye removal efficiency of Reactive Red 239 (RR239) by sludge from the wastewater treatment plant of Chiang Mai University. The free sludge and the immobilized sludge were used. The results showed that free sludge and immobilized sludge were effective in removing RR239 dye at concentrations as high as 500 mg/L. The optimum pH for dye removal was 7 and 9. In addition, the sludge showed 82.28% of RR239 dye removal efficiency at a maximum salt concentration of 60 g/L in 48 hours. The concentration of silver nanoparticles had little effect on the dye removal efficiency of RR239, which may be due to decolorization under anaerobic conditions. Reuse of the immobilized sludge can be repeated up to 8 cycles. The product after decolorization of RR239 showed more toxicity than RR239. This is consistent with the results of the functional group analysis of dye RR239 using Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FTIR) technique indicating that the product after microbial removal has a structure that causes toxicity to living organisms. Therefore, dye removal via this technique should be improved so that the product is less toxic before being released into the environment.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectReactive Red 239en_US
dc.subjectImmobilized Sludgeen_US
dc.subjectAzo Dyeen_US
dc.subjectSalten_US
dc.titleผลของอนุภาคนาโนซิลเวอร์ต่อการกำจัดสีเอโซโดยใช้ตะกอนที่ตรึงในอัลจิเนตen_US
dc.title.alternativeEffects of silver nanoparticles on azo dye removal using alginate immobilized sludgeen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashอนุภาคนาโน-
thailis.controlvocab.thashตะกอน (ธรณีวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashสีย้อมและการย้อมสี-
thailis.controlvocab.thashน้ำเสีย -- การบำบัด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของอนุภาคนาโนซิลเวอร์ต่อประสิทธิภาพการกำจัดสีย้อมผ้า Reactive Red 239 (RR239) ด้วยตะกอนจากโรงกำจัดน้ำเสียมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้ตะกอนอิสระและตะกอนที่ตรึงในอัลจิเนต ผลการศึกษาพบว่า ตะกอนอิสระและตะกอนที่ตรึงในอัลจิเนตมีประสิทธิภาพในการกำจัดสีย้อม RR239 ที่ความเข้มข้นสูงถึง 500 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความเป็นกรดด่างที่เหมาะสมในการกำจัดสีย้อมผ้า คือ 7 และ 9 นอกจากนี้ ตะกอนที่ตรึงในอัลจิเนต มีประสิทธิภาพในการกำจัดสีย้อมผ้า RR239 ได้ถึง ร้อยละ 82.28 ที่ความเข้มข้นเกลือ สูงสุด 60 กรัมต่อลิตร ในเวลา 48 ชั่วโมง ผลแสดงให้เห็นว่าการตรึงตะกอนจุลินทรีย์สามารถช่วยป้องกันเซลล์จุลินทรีย์จากสภาวะที่ไม่เหมาะสมได้ ในขณะที่ความเข้มข้นของอนุภาคนาโนซิลเวอร์ส่งผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดสีย้อม RR239 เพียงเล็กน้อย ซึ่งอาจเกิดจากการกำจัดสีภายใต้สภาวะไร้อากาศ ตะกอนที่ตรึงในอัลจิเนตสามารถใช้ซ้ำได้สูงสุดถึง 8 รอบ ผลการทดสอบความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์หลังการกำจัดสีแสดงให้เห็นว่า ผลิตภัณฑ์หลังการบำบัดสีย้อมผ้า RR239 มีความเป็นพิษมากกว่าผลิตภัณฑ์ก่อนกำจัดซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์หมู่ฟังก์ชันของสีย้อม RR239 ด้วยเทคนิค Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FTIR) ที่ระบุว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้หลังการกำจัดโดยจุลินทรีย์ มีโครงสร้างที่ก่อให้เกิดความเป็นพิษกับสิ่งมีชีวิต ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้หลังการกำจัดมีความเป็นพิษลดลงก่อนปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531035-นัชชา หน่อแก้ว.pdf3.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.