Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรชร มณีสงฆ์-
dc.contributor.authorธนูศักดิ์ อินทร์ราชen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T00:36:48Z-
dc.date.available2023-06-29T00:36:48Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78207-
dc.description.abstractThe study on “Behavior of Thai Consumers towards Purchasing Sacred Objects” aimed to examine and compare the behavior of Thai consumers towards purchasing sacred objects. The research population was determined to be 400 samples who were Thai consumers who purchased Thai sacred objects last year (from 1 August 2020 to 31 July 2021). Data analysis relied on descriptive statistics: frequency, percentage, mean, and standard deviation or S.D. Then, the inferential statistics, including Pearson Chi-Square and one-way analysis of variance: ANOVA were applied in order to compare the means of more than 2 groups of variables i.e. gender, age, income, educational background, and career. In this study, the level of statistical significance was specified at 0.05 The findings demonstrated that the samples who purchased sacred objects last year were males aged 41-56 years old or Generation X. Their monthly income was 35,001-45,000 Baht and their educational background was higher than a bachelor’s degree. They were married and worked as company employees. The sacred object that they purchased was a treasure trap in a form of a local woven fish trap. They believed in the magic of sacred objects in the way that the objects could protect them from black magic and bring them peaceful living. They purchased it on an occasion when they take a sacred or leisure trip to a place where the sacred objects were sold. The reason for purchasing the sacred object was the belief that it could protect them from harm and danger. Most of them purchased the sacred objects from friends or respectful seniors. In each purchase, they spent 100-500 Baht for the sacred object. The person influencing their decision towards purchasing the sacred object was their respectful seniors. They learned about the sacred objects through the social network. In this study, the samples agreed that the sacred objects brought them success in what they intended to have or to be and would recommend others to purchase the sacred objects. In the future, they would purchase it more. According to the perception analysis, the level of significance of marketing mix factors affecting Thai consumers toward purchasing the sacred objects was totally ranked at the highest level at 4.34 in an overview. The results of the hypothesis testing on marketing mix factors affecting the behavior of Thai consumers towards purchasing the sacred objects showed that difference was not observed in all factors among those who had different gender and educational background. For those who were in the different age groups, the difference was observed in the product and price factors; but not found in the place and promotion factors at the 0.05 level of statistical significance. For those who were in the different income groups, the difference was observed in the price, place, and promotion factors; but not found in the product factor at the 0.05 level of statistical significance. For those who were in the different career groups, the difference was observed in the place factor; but not found in the product, price, and promotion factors at the 0.05 level of statistical significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของผู้บริโภคชาวไทยต่อการเช่าบูชาวัตถุมงคลen_US
dc.title.alternativeBehavior of Thai consumers towards purchasing sacred objectsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเครื่องรางของขลัง-
thailis.controlvocab.thashการบูชา-
thailis.controlvocab.thashพระเครื่อง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมของผู้บริโภคชาวไทยต่อการเช่าบูชาวัตถุมงคล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคชาวไทยต่อการเช่าบูชาวัตถุมงคล และ เพื่อศึกษาความแตกต่างในการเช่าบูชาวัตถุมงคล ของผู้บริโภคชาวไทย ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคชาวไทยที่เคยเช่าบูชาวัตถุมงคลไทย ภายในช่วงเวลา 1 ปีที่ผ่านมา (1 สิงหาคม 2563 – 31 กรกฏาคม 2564) จำนวนตัวอย่าง 400 ตัวอย่าง โดยการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) และ ใช้สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Parson Chi-Square) และความแปรปรวนแบบทางเดียว (One – Way Analysis of Variance: ANOVA) สำหรับใช้ทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา และอาชีพ สำหรับค่านัยสำคัญทางสถิติที่ใช้กำหนดไว้ที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เคยเช่าบูชาวัตถุมงคลใน 1 ปีที่ผ่านมา เป็นเพศชายมีอายุระหว่าง 41 - 56 ปี หรือ Generation X ระดับรายได้ต่อเดือนได้แก่รายได้ 35,001 - 45,000 บาทระดับการศึกษา สูงกว่าปริญญาตรี สถานภาพ สมรส ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท และบูชาวัตถุมงคล ไซดักทรัพย์ มีความเชื่อในบูชาวัตถุมงคล เรื่องความเชื่อว่าป้องกับภัยคุณไสยที่อยู่ร่มเย็นโอกาสในการบูชาเมื่อได้เดินทางไปสักการะหรือเที่ยว ในสถานที่ที่มีให้เช่าบูชา วัตถุประสงค์ที่เช่าบูชาวัตถุมงคล ช่วยในเรื่องป้องกันภัยอันตราย ส่วนมากเช่าบูชาวัตถุมงคลจากเพื่อนหรือผู้ใหญ่ที่เคารพ ค่าใช้ง่ายในการเช่าบูชาวัตถุมงคลของในแต่ละครั้ง 100-500 บาท ผู้ใหญ่ที่เคารพมีผลต่อการตัดสินใจบูชา การเปิดรับข่าวสารเรื่องวัตถุมงคลจากเครือข่ายสังคมออบไลน์ กลุ่มตัวอย่างพบว่า วัตถุมงคลทำให้สมหวังอย่างที่ตั้งใจและจะแนะนำการเช่าบูชาวัตถุมงคลต่อผู้อื่น ในอนาคตจะการเช่าบูชาวัตถุมงคลอีกครั้ง และภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการรับรู้ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคชาวไทยต่อการเช่าบูชาวัตถุมงคล มีคะแนนเฉลี่ยรวม 4.34 อยู่ในระดับมากที่สุด การทดสอบสมมุติฐานปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคชาวไทยต่อการเช่าบูชาวัตถุมงคล ด้านเพศ ด้านระดับการศึกษา พบว่าไม่แตกต่างกันในทุกด้าน ด้านอายุ แตกต่างกันตามอายุ ในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ยกเว้น ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านรายได้ แตกต่างกับในด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ยกเว้น ด้านผลิตภัณฑ์ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านอาชีพ แตกต่างกัน ได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ยกเว้น ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านส่งเสริมการตลาด ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631532021 ธนูศักดิ์ อินทร์ราช.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.