Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78205
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญลักษณ์ พิชญกุล-
dc.contributor.authorชัญญานุช ธิน้อมธรรมen_US
dc.date.accessioned2023-06-28T10:29:09Z-
dc.date.available2023-06-28T10:29:09Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78205-
dc.description.abstractThis independent study aims to 1) study consumer behavior towards payment via the QR payment system of generation X and generation Y in Chiang Mai province during the situation of coronavirus disease 2019 pandemic and 2) compare the customer's behavior between generation X and generation Y on the QR code payment in Chiang Mai during the COVID19 pandemic. The study collects data from the questionnaire collected during the last 6 months. The Convenience Sampling Technique was applied. The data concluded that 400 people which categorized as 200 people in generation X (born from 1965 to 1980) and 200 people in generation Y (born from 1981 to 2000). The statistics including frequency, percentage, and average are used to analyze the data and test the hypothesis by the Chi-Square method. The results found that most of the responders in generation X. Most of the respondents were female, married/lived together, have a bachelor's degree, work for a private company, and have a salary between 15,000 and 25,000 THB. Generation Y was female, single, had a bachelor's degree, work for a private company, and have a salary between 15,000 and 25,000 THB. The compared generation X and generation Y in Chiang Mai during the epidemic situation of Corona 2019 before the epidemic situation of Corona 2019, the frequency of payments via the QR code system during the epidemic situation, and products and services that are paid via the QR Code system used. The most frequent services differed at a level of statistical significance of 0.05.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคในการชำระเงินผ่านระบบคิวอาร์ของเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019en_US
dc.title.alternativeConsumer behavior towards payment via QR payment system of generation X and generation Y in Chiang Mai Province during the situation of coronavirus disease 2019 pandemicen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันเอ็กซ์-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันวาย-
thailis.controlvocab.thashไวรัสโคโรนา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในการชำระเงิน ผ่านระบบคิวอาร์ของเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ในช่วงสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้บริโภคในการ ชำระเงินผ่านระบบคิวอาร์ของเจเนอเรชันเอ็กซ์ และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกจาก ผู้ที่เคยใช้บริการชำระเงินผ่านระบบคิวอาร์ เจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา จำนวน 400 คน โดยแบ่งเป็นเจเนอเรชันเอ็กซ์ (ผู้ที่เกิดระหว่างพ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2523) จำนวน 200 คน และเจเนอเรชันวาย (ผู้ที่เกิดระหว่างพ.ศ. 2524 - พ.ศ. 2543) จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และใช้สถิติที่ในในการทดสอบไค-สแควร์ (Chi-Square) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า เจเนอเรชันเอ็กซ์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีสถานภาพ สมรส / อยู่ด้วยกัน มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 - 25,000 บาท/เดือน ส่วนเจเนอเรชันวาย ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีสถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 - 25,000 บาท/เดือน และผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้บริโภคในการชำระเงินผ่านระบบคิว อาร์ของเจเนอเรชันเอ็กซ์ และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พบว่า ผู้บริโภคเจเนอเรชันเอ็กซ์กับเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีพฤติกรรมการชำระเงินผ่านระบบคิวอาร์ (QR Code) ก่อนเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ความถี่ในการชำระเงินผ่านระบบคิวอาร์ (QR Code) ในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเภทสินค้าหรือบริการที่ชำระ เงินผ่านระบบคิวอาร์ (QR Code) ที่ใช้บริการบ่อยที่สุด แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532083 ชัญญานุช ธิน้อมธรรม.pdf10.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.