Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ-
dc.contributor.authorณัฐปคัลภ์ อำพรรณ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-27T10:08:26Z-
dc.date.available2023-06-27T10:08:26Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78187-
dc.description.abstractRang Jued (Thunbergia laurifolia Lindl.) is a medicinal plant belonging to the genus Thunbergia Retz., Family Acanthaceae. Rang Jued is found throughout all regions of Thailand. Each locality has been called this plant by using a local name differently instead of calling Rang Jued and leading to the problems in research. Molecular markers were used to study the genetic diversity of the genus Thunbergia by using ISSR (Inter Simple Sequence Repeat) 10 primers and SRAP (Sequence- Related Amplified Polymorphism) 10 primer pairs. Each marker uses to amplify the genetic material of the 18 plant samples. Data were analyzed with popgene and NTSYSpc V.2.10e. It was found that the ISSR marker dendrogram was divided 1 8 samples of the Genus Thunbergia into 5 groups. Group 1 consists of TL (T. laurifolia Lindl.), T4, T5 and T6 with bootstrap value 46, group 2 consists of T1, T2 and T3 with bootstrap value 95, group 3 consists of T13, T14 and T15 with bootstrap value 34, group 4 consists of T9, T10, T1 1 and T12 with bootstrap value 59 and group 5 consists of T7 and T8 with bootstrap value 59. In addition, jaccard similarity coefficient of ISSR Marker ranging from 0.467-0.817. The dendrogram of SRAP marker was divided samples in the Genus Thunbergia. Eighteen samples were divided into 5 groups group 1 consists of TL, T1, T2, T3 and T6 with bootstrap value 21, group 2 consists of T4 and T5 with bootstrap value 55, group 3 consists of T7 and T8 with bootstrap value 71, group 4 consists of T9 and T15 with bootstrap value 37, group 4 contains T4 and T5 with bootstrap value 55 and group 5 consists of T13 and T14 with bootstrap value 69. Likewise, jaccard similarity coefficient of SRAP marker ranged from 0.352-0.711. The ISSR and SRAP markers dendrograms were able to separate TL, TF (T. fragrans Roxb.) and TP (T. papilionacea W.W.Sm.) and the both markers were consistent in the specific detection of genus Thunbergia Retz.. Samples collected from Ban Mae Lana and Ban Tham Lod showed a lower genetic distance in the range 0.1000-0.2000 to Rang Jued than samples collected from Ban Pung Yam, Ban Mueang Phaem and Ban Nong Tong. It was causing samples of plants collected from Ban Mae Lana and Ban Tham Lod in the same species as Rang Jued. But samples collected from Ban Pung Yam, Ban Mueang Phaem and Ban Nong Tong could not verify the accuracy of the species because of the phylogenetic tree showing the genetic distance from 0.3000 up. Species validation should require morphological information and added primers to verify the validation of a species.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชสกุลรางจืดโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอไอเอสเอสอาร์และเอสอาร์เอพen_US
dc.title.alternativeGenetic diversity of the genus Thunbergia using ISSR and SRAP DNA Markersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshรางจืด-
thailis.controlvocab.lcshชีววิทยา-
thailis.controlvocab.lcshรางจืด -- พันธุ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractรางจืดเถา (Thunbergia laurifolia Lindl.) เป็นสมุนไพรอยู่ในสกุลรางจืด (Thunbergia Retz.) วงศ์ Acanthaceae โดยมีการใช้รางจืดในการถอนพิษ ขับพิษ สำหรับประเทศไทย รางจืดเถาพบได้ทั่ว ทุกภูมิภาคของประเทศ โดยแต่ละท้องถิ่นจะใช้ชื่อเรียกท้องถิ่น ในการเรียก รางจืดเถาที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดความผิดพลาดในการนำมาใช้ จึงนำไปสู่ปัญหาของการทำวิจัย ที่นำเครื่องหมายดีเอ็นเอ มา ใช้ศึกษาความหลากหลายของพืชสกุลร างจืดโดยเลือกเครื่องหมายดีเอ็นเอ (markers) จำนวน 2 เครื่องหมาย ได้แก่เครื่องหมาย ISSR (Inter Simple Sequence Repeat) จำน วน 10 ไพรเมอร์ กับ เครื่องหมาย SRAP (Scquencc-Related Amplified Polymorphism) จำนวน 10 คู่ไพรเมอร์ ในการเพิ่ม ปริมาณดีเอ็นเอของตัวอย่างพืชสกุลรางจืด จำนวน 18 ตัวอย่าง โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรม popgenc และ NTSYSpc V.2.10 พบว่าเคนโดแกรมของเกรื่องหมาย ISSR แบ่งตัวอย่างพืช สกุลรางจืด จำนวน 18 ตัวอย่าง ออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย TL (T: laurjolia Lindl.), T4, TS และ T6 มีค่า bootstrap 46 กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย TI, T2 และ T3 มีค่า bootstrap 95 กลุ่มที่ 3 ประกอบด้วย T13, T14 และ T15 มีค่า bootstrap 34 กลุ่มที่ 4 ประกอบด้วย T9, T10, TIl และ TI2 มี ค่า bootstrap 59 และกลุ่มที่ 5 ประกอบด้วย 17 กับ T8 มีค่า bootstrap 59 และมีค่าสัมประสิทธิ์ของ Jaccard ที่ได้มีค่ตั้งแต่ 0.467-0.817 และเดนโดแกรมของเครื่องหมาย SRAP แบ่งตัวอย่างพืชสกุล รางจืด จำนวน 18 ตัวอย่าง ออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย TI, TI, T2, T3 และ T6 มีค่า bootstrap 21 กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย T4 กับ โร มีค่า bootstrap 55 กลุ่มที่ 3 ประกอบด้วย T7 กับ T8 มี ค่า bootstrap 71 กลุ่มที่ 4 ประกอบด้วย T9 กับ TI5 มีค่า bootstrap 37 และกลุ่มที่ 5 ประกอบด้วย T13 กับ T14 มีค่า bootstrap 69 และมีค่าสัมประสิทธิ์ของ Jaccard ที่ได้มีค่าตั้งแต่ 0.352-0.711 ซึ่งเดน โดแกรมของเครื่องหมาย ISSR และ SRAP สามารถแยกตัวอย่าง TL (T: laurijfolia Lindl.), TF (T. fragrans Roxb.) และ TP (T. papilionacea W.W.Sm.) ออกจากกันได้และให้ผลสอดคล้องกันใน การตรวจสอบชนิดของตัวอย่างพืชสกุลรางจืดที่เก็บมาจากบ้านแม่ละนากับบ้านถ้ำลอดแสดงค่า ระยะทางพันธุกรรมกับรางจืดเถาอยู่ในช่วง 0.1000-0.2000 น้อยกว่าตัวอย่างพืชสกุลรางจืดที่เก็บมา จากบ้านปุงยาม บ้านเมืองแพมและบ้านหนองตอง ทำให้ตัวอย่างที่เก็บมาจากบ้านแม่ละนากับบ้านถ้ำ ลอดเป็นตัวอย่างชนิดเดียวกับรางจืดเถา (TL) ส่วนตัวอย่างที่เก็บมาจากบ้านปุงยาม บ้านเมืองแพมและ บ้านหนองตอง ไม่สามารถยืนขันว่าเป็นรางจืดเถาได้เนื่องจากเคน โดแกรมที่ได้จากเครื่องหมาย ISSR และ SRAP จัดกลุ่มตัวอย่างเป็น 5 กลุ่ม และมีค่าระยะห่างทางพันธุกรรมที่สูงตั้งแต่ 0.3000 ขึ้นไป ทำให้การตรวจสอบความถูกต้องของชนิดตัวอย่างควรจะต้องใช้ข้อมูลทางด้านสัณฐานวิทยาและเพิ่ม จำนวนไพรเมอร์ที่ใช้มาประกอบการศึกษาเพื่อยืนขันความถูกต้องของชนิดตัวอย่างพืชสกุลรางจืดen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531021 ณัฐปคัลภ์ อำพรรณ์.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.