Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78180
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลี สิทธิเกรียงไกร | - |
dc.contributor.advisor | ชยันต์ วรรธนะภูติ | - |
dc.contributor.author | หวัง, หลี้จุน | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-26T11:03:03Z | - |
dc.date.available | 2023-06-26T11:03:03Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78180 | - |
dc.description.abstract | The thesis aims to study changing the Livelihoods of Longan Farmers in Ban Muang Ton Phueng village after the entry of Lhong Jin. Moreover, this study also focuses on the use of Lhong Jin's Guanxi system after Lhong Jin became part of longan production and sale. The study was conducted by looking through the concept of Guanxi, Livelihoods, and Cross-border trade. The study was conducted by using documentary research, using focus group discussion, participatory observation, and interviewing longan farmers and Chinese traders in Ban Muang Ton Phueng village. The research has two main questions. Firstly, when Lhong Jin did longan business in Ban Muang Ton Phueng village, how have longan farmers changed their production relations such as land use, labor, and tools? How does this change affect the livelihoods of longan farmers? Secondly, how has Lhong Jin built a network of "Guanxi" relationships with longan farmers? The research found that since Lhong Jin came to do longan business in the Ban Muang Ton Phueng community and Lhong Jin expanded its longan business, the villagers had the opportunity to export their longan to China. Lhong Jin's entry has had an impact on longan farmers, causing longan farmers to lose longan cultivars, resulting in the monopoly of Lhong Jin. Longan farmers have been forced to take risks and change their livelihoods. For example, longan farmers faced a labor shortage in the period 2014-2015. Longan farmers in the third group changed their working hours and became laborers on the longan plantation. Instead of hiring workers, they shifted working hours from day to night. Longan farmers in the second group switched from employing local laborers to migrant workers. From 2016 to 2020, was a period when longan farmers lost the power to negotiate with Lhong Jin. Longan farmers in the second group have shifted from relying on the Chinese market to finding other markets during the period. For example, longan farmers have changed their method of finding markets to online longan trade, finding the Vietnamese market, Malaysian market, Indonesian market, and merchants in Chiang Mai directly. Instead of being monopolized by Lhong Jin, longan Farmers in the first group and longan Farmers in the third group undergo different livelihood changes, risks are reduced in the longan trade by diversifying into a variety of occupations. In addition, longan farmers in the village also cultivate organic longan to live a good and sustainable life. More interestingly, Lhong Jin has used the Guanxi system to build various types of relationships in longan business operations. The first type is that the use of Guanxi is a form of helping family members through trust. For example, Lhong Jin's dried longan factory management was a modern organizational management model. And Lhong Jin allows trusted family members to manage important sections. The second type is the use of Guanxi in the form of expanding the relationship between friends to middlemen. In Lhong Jin's case, it was found that Lhong Jin paid more attention to the use of Guanxi with trusted business friends. Lhong Jin's Guanxi system has been used among trusted business friends in the longan business. Lhong Jin uses Guanxi with business friends who are Thai nationals of Chinese descent. Then Lhong Jin would rely on the relationships of the business friends and could meet with middlemen to expand the longan market. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ล้งจีนกับการเปลี่ยนแปลงวิถีดำรงชีพของชาวสวนลำไยในจังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | “Lhong Jin” and changing the livelihoods of longan farmers in Lamphun Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ลำไย -- การค้า -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | ชาวสวน -- ลำพูน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำรงชีพของชาวสวนลำไยในบ้านม่วง ต้นผึ้งหลังการเข้ามาของกลุ่มล้งจีน นอกจากนั้น การศึกษานี้ยังให้ความสำคัญกับการปรับใช้ระบบ กวนซี่ของล้งจีนหลังล้งจีนได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตและขายลำไย โดยมองผ่าน แนวคิดกวนชี่ แนวคิดวิถีการดำรงชีพและแนวคิดการค้าข้ามแดน การศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาจาก ข้อมูลเอกสาร การสนทนากลุ่ม การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์กับชาวสวนลำไย และลังจีนของชุมชนบ้านม่วงต้นผึ้ง การศึกษานี้มีคำถามการวิจัย 2 ประการคือ ประการแรก ชาวสวนลำไยได้เปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ทางการผลิต เช่น การใช้ที่ดิน แรงงาน และเครื่องมือต่างๆ อย่างไร เมื่อสังจีนได้ซื้อขาย ลำไย การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลกระทบต่อวิถีการดำรงชีพของชาวสวนลำไยอย่างไร ประการที่สอง ลัง จีนได้สร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ "กวนซี่" กับชาวสวนลำไยอย่างไร ผลการศึกษา พบว่า หลังจากกลุ่มล้งจีนเข้ามาค้าขายลำไยในชุมชนบ้านม่วงต้นผึ้งและการ ขยายกิจการลำไยของกลุ่มสังจีนได้ส่งผลให้การดำเนินธุรกิจลำไยในบ้านม่วงต้นผึ้ง ซึ่งทำให้ชาวบ้าน ม่วงต้นผึ้งสามารถมีโอกาสส่งออกลำไยไปยังประเทศจีนได้ การเข้ามาของลังจีนยังส่งผลต่อชาวสวน ลำไย ทำให้ชาวสวนลำไยสูญเสียพันธุ์ลำไย ส่งผลให้เกิดการผูกขาดตลาดของจีน ทำให้ชาวสวนลำไย เกิดความเสี่ยงใหม่ๆ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต เช่น ช่วงปีพ.ศ. 2557-2558 เป็นช่วงที่ชาวสวนลำไยขาดแคลนแรงงาน ชาวสวนลำไย กลุ่มที่ 3 กลายเป็นแรงงานและเปลี่ยนเวลาทำงานใน สวนลำไย เปลี่ยนจากกลางวันเป็นกลางคืน แทนที่จะไปจ้างแรงงานเพื่อหาทางออก ชาวสวนลำไย กลุ่มที่ 2 เปลี่ยนจากการแรงงานท้องถิ่นเป็นการจ้างแรงงานข้ามชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2559-2563 เป็นช่วงที่ ชาวสวนลำไยหมดอำนาจต่อรองกับล้งจีนภายใต้สภาวะที่ต้องพึ่งพาล้งจีนอย่างเดียว ชาวสวนลำไย กลุ่มที่ 2 ได้เปลี่ยนจากการพึ่งพาตลาดจีนอย่างเดียวเป็นการหาตลาดอื่น เช่น ชาวสวนลำไยเปลี่ยน วิธีการหาตลาดเป็นการค้าขายลำไยออนไลน์ รวมกลุ่มหาตลาดเวียดนาม ตลาดมาเลเซีย ตลาดอินโดนีเซียและพ่อค้าที่จังหวัดเชียงใหม่โดยตรง แทนที่จะโดนผูกขาดโดยสังจีน ชาวสวนลำไย กลุ่มที่ 1 และชาวสวนลำไย กลุ่มที่ 3 จะมีการเปลี่ยนวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน คือ หันไปหาอาชีพที่ หลากหลายเพื่อลดความเสี่ยงในการค้าขายลำไย นอกจากนี้ ชาวสวนลำไยของบ้านม่วงต้นผึ้งยังมีการ ปลูกลำไยอินทรีย์เพื่อดำเนินชีวิตอย่างดีและยั่งยืน นอกจากนี้ การศึกษานี้พบว่า สังจีนมีการใช้ระบบกวนซี่ในสร้างความสัมพันธ์รูปแบบต่างๆ ในการทำธุรกิจลำไยอยู่ 2 แบบ แบบแรกคือ การใช้กวนซี่มีลักษณะแบบการช่วยเหลือแก่คนใน ครอบครัวเดียวกันหรือความเป็นเครือญาติด้วยความเชื่อใจ เช่น การบริหารจัดการโรงงานลำไย อบแห้งของล้งจีนเป็นรูปแบบการจัดการองค์การสมัยใหม่ ล้งจีนให้คนในครอบครัวที่ไ ว้ใจได้มาดูแล ฝ่ายต่างๆ ที่สำคัญ แบบที่สองคือ การใช้กวนชื่มีลักษณะแบบการขยายชุดความสัมพันธ์ผ่านเพื่อนสู่ พ่อค้าคนกลาง ในกรณีของสังจีนพบว่า ล้งจีนจะให้ความสำคัญกับการใช้กวนซี่กับเพื่อนนักธุรกิจ ล้ง จีนใช้กวนซี่กับเพื่อนนักธุรกิจคนไทยเชื้อสายจีนที่ไ ว้วางใจได้ในการค้าขายลำไย และล้งจีนจะอาศัย ความสัมพันธ์ของเพื่อนนักธุรกิจคนไทยเชื้อสายจีนและ ได้มีโอกาสไปรู้จักกับพ่อค้าคนกลางเพื่อขยาย ตลาดลำไย | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610431025 Lijun Wang.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.