Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78165
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSiriporn Chaisri-
dc.contributor.advisorNiti Mankhemthong-
dc.contributor.authorSorawat Siangpipopen_US
dc.date.accessioned2023-06-25T10:58:15Z-
dc.date.available2023-06-25T10:58:15Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78165-
dc.description.abstractThe ambient seismic noises (ASNs) in northern Thailand were used as the diffuse wavefield to reconstruct the empirical Green’s function (EGF) by cross-correlation between pair stations C1which is assumedly compatible with the impulse response of the Earth. However, in the case of inadequately synchronized station pair, the crosscorrelation of cross-correlation function (C2) is applied to enhance the quality of EGF by stacking C1 and C2. The objective of this study is to create a 1-D shear wave velocity and depth model for investigating the crustal structure beneath northern Thailand. The data were recorded from late 2019 to late 2020 from 22 stations of TM network operated by the Thai Meteorological Department (TMD), TH network operated by the Department of Mineral Resources (DMR), and IU network operated by the Incorporated Research Institutions for Seismology Network (IRIS). The vertical component was used for interstation ASNs cross-correlation to extract the Rayleigh waveform. Regarding EGFs under stationary phase assumption, the surface waveform can be significantly seen, and dispersion curves were extracted by the phase-matched filtering frequency-time analysis (phase-matched filtering FTAN) method with quality control based on signal to noise ratio criteria. The final dispersion curves from each station pairs are employed for estimating the group velocity tomography maps for each period. After that, the selected dispersion curves along the grid locations are inverted to obtain the 1-D S-wave velocity depth models and then combined for generating S-wave velocity and depth maps. The inverted models consist of 3 structural boundaries: sediment basin-basement rock, upper-lower crust, and crust-upper mantle boundaries. The solutions are presented as the S-wave velocity maps of upper and lower crust, and the boundary depth maps: 1) sediment basin-basement rock boundary, 2) upper-lower crust boundary (Conrad discontinuity), and 3) crust-mantle boundary (Mohorovičić discontinuity). The results indicate that the depth of sediment basin-basement rock boundary is deeper around the basins defined by previous studies which depth is up to 1.14 km at Chiang Mai Basin and around 0 at mountain ranges. The depth of upper-lower crust boundary is expected to be Conrad discontinuity depth beneath Northern Thailand and its shallowest depth is in the western province about 10.9 km, while its deepest depth locates beneath Phitsanulok Basin about 20.9 km, indicating the excessive sinking of this basin. The result of Mohorovičić discontinuity depth (Moho depth) are supporting that of previous studies which increase from the west (31.4 km) to the east (40.6 km) along with the tectonic blocks in Thailad: Sibumasu terrane (ST), Inthanon zone, Sukhothai terrane, and Indochina terrane (ICT).en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleShear wave velocity model by c1 and c2 combination using ambient seismic noise beneath Northern Thailanden_US
dc.title.alternativeแบบจำลองความเร็วคลื่นเฉือนด้วยการผนวก ซีหนึ่งและซีสอง โดยใช้สัญญาณรบกวนไหวสะเทือนล้อมรอบใต้ภาคเหนือ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshShear waves-
thailis.controlvocab.lcshNoise-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสัญญาณรบกวนไหวสะเทือนล้อมรอบ (ASNs) พื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย ถูกนำมาใช้เป็นสนามกระจัดกระจายของคลื่นไหวสะเทือน เพื่อสร้างฟังก์ชันของเอ็มพิริคัลกรีน (EGF) โดยกระบวนการสหสัมพันธ์ไขว้ (Cross-Correlation) ระหว่างคู่สถานี ซีหนึ่ง ซึ่งเทียบเคียงได้ กับการตอบสนองอิมพัลซ์ของโลก อย่างไรก็ตามในกรณีที่คู่สถานีมีสัญญาณที่สอดคล้องทาง เวลาไม่เพียงพอ การคำนวณสหสัมพันธ์ไขว้ของสหสัมพันธ์ไขว้ (ซีสอง) ถูกนำมาเพิ่มคุณภาพของ EGF ด้วยการรวมกันของ ซีหนึ่ง และ ซีสอง วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือเพื่อ สร้างแบบจำลองความเร็วคลื่นเฉือนและความลึกหนึ่งมิติ สำหรับตรวจสอบโครงสร้าง เปลือกโลกใต้ภาคเหนือประเทศไทย ชุดข้อมูลถูกบันทึกตั้งแต่ท้ายปี 2562 ถึงท้ายปี 2563 จาก 22 สถานี จาก โครงข่าย TM ดำเนินการโดยกรมอุตุนิยมวิทยาประเทศไทย (TMD) โครงข่าย TH ดำเนินการโดยกรมทรัพยากรธรณี (DMR) และโครงข่าย IU ดำเนินการโดย the Incorporated Research Institutions for Seismology Network (IRIS) องค์ประกอบแนวตั้งถูกใช้สำหรับคำนวณ สหสัมพันธ์ไขว้ระหว่างคู่สถานี เพื่อคัดแยกรูปคลื่นเรย์ลี จาก EFGs ภายใต้สมมติฐานเฟสนิ่ง รูปคลื่นผิวดินสามารถถูกสังเกตได้อย่างชัดเจน และเส้นโค้งการกระจายถูกดึงออกด้วยวิธีวิเคราะห์ความถี่และเวลาการกรองเฟสที่ตรงกัน (phase- matched filtering FTAN) ด้วยการควบคุมคุณภาพตามเกณฑ์อัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน เส้นโค้งการกระจายสุดท้ายจากแต่ละคู่สถานีถูกใช้สำหรับการประมาณแผนที่ โทโมกราฟีความเร็ว กลุ่มสำหรับแต่ละคาบสัญญาณ หลังจากนั้น เส้นโค้งการกระจายที่เลือกตามตำแหน่งกริดจะถูก คำนวณผันกลับเพื่อให้ได้แบบจำลองความเร็วคลื่นเอสกับความลึก 1 มิติ แล้วนำมารวมกันเพื่อสร้าง แผนที่ความเร็วคลื่นเอส และความลึก แบบจำลองย้อนกลับประกอบด้วย 3 รอยต่อ ได้แก่ รอยต่อระหว่างชั้นตะกอน-หินฐาน รอยต่อระหว่าง เปลือกโลกชั้นบน-ล่าง และรอยต่อระหว่างเปลือกโลก-เนื้อโลก ผลลัพธ์แสดงเป็นแผนที่ความเร็วคลื่น เอสของเปลือกโลกชั้นบนและล่าง และความลึกของ 1) รอยต่อระหว่างชั้นตะกอน-เปลือกโลก 2) รอยต่อระหว่างเปลือกโลกชั้นบน-ล่าง (ความไม่ต่อเนื่องคอนราด, Conrad discontinuity) และ 3) รอยต่อระหว่างเปลือกโลกเนื้อโลก (ความไม่ต่อเนื่องโมโฮโลวิซิก, Mohoroviic discontinuity) ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าความลึกของรอยต่อชั้นตะกอน-เปลือกโลก จะลึกมากที่สุดบริเวณแอ่งที่ถูก กล่าวถึงในงานศึกษาก่อนหน้านี้แสดงถึงความลึกกว่าพื้นที่โดยทั่วไป โดยความลึกสูงสุดคือ 1.14 km ปรากฎที่แอ่งเชียงใหม่ ในขณะที่บริเวณเทือกเขาปรากฏความลึกประมาณ 0 km ความลึกของรอยต่อ ระหว่างเปลือกโลกชั้นบนล่างคาดว่าเป็นความไม่ต่อเนื่องคอนราดของภาคเหนือประเทศไทย โดย ทางตะวันตกมีความลึกน้อยที่สุดประมาณ 10.9 km ในขณะที่บริเวณที่ลึกที่สุดปรากฏภายใต้แอ่ง พิษณุ โลกมีความลึกประมาณ 20.9 km แสดงถึงการทรุดตัวมากกว่าปกติของแอ่งพิษณุโลก นอกจากนี้ แผนที่ผลลัพธ์แสดงความลึกความไม่ต่อเนื่องโมโฮโลวิซิก ยังสนับสนุนผลการศึกษาก่อนหน้านี้ โดย จะมีความลึกเพิ่มขึ้นจากตะวันตก (31.4 km)ไปตะวันออก (40.6 km) ตามสภาพธรณีแปรสัณฐานของ แผ่นเปลือกโลกในประเทศไทย ดังนี้ ศิลาภูมิประเทศสิบูมาสสุ (ST) อินทนนท์โซน ศิลาภูมิประเทศ สุโขทัย และ ศิลาภูมิประเทศอินโดไชน่า (ICT)en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620535907 สรวัชร เสียงพิภพ.pdf16.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.