Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78159
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKanich Tripuwabhrut-
dc.contributor.advisorWetchayan Rangsri-
dc.contributor.advisorSupassara Sirabanchongkran-
dc.contributor.authorKachaphol Kuharattanachaien_US
dc.date.accessioned2023-06-25T08:25:42Z-
dc.date.available2023-06-25T08:25:42Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78159-
dc.description.abstractAnterior open bite is considered a malocclusion with no incisal contact between anterior teeth. In previous studies, occlusal hypofunction in anterior open bite malocclusion resulted in increased dental pulp size. Dental pulp is composed of soft connective tissue, vascular, lymphatic and nervous systems that located within the tooth. The volumes of dental pulp cavity were earlier reported in normal bite patients. However, the pulp cavity volume in anterior open bite malocclusion has not been reported in previous studies. Treatment procedures for anterior open bite correction are varied, mainly dependent on severity of malocclusion. In mild to moderate anterior open bite malocclusion, a camouflage orthodontic treatment is aimed at compensating the abnormal tooth position. Control of force vectors and moments is important to obtain the desired tooth movement. Center of resistance (Cres) is a reference point crossed by a force vector at which bodily tooth movement is achieved. The position of Cres depends upon several factors. Accordingly, the variation of tooth dimension and pulp cavity volume in anterior open bite malocclusion may also affect the position of Cres. The present study aimed to investigate the impacts of occlusal hypofunction on the tooth morphologies along with Cres locations in anterior open bite malocclusion. The main hypothesis of this study was that the occlusal hypofunction in anterior open bite malocclusion enlarged the dental pulp cavity and relocated the Cres locations of the tooth. Forty-six patients aged between 15 and 29 years were divided into 2 groups according to anterior overbite and skeletal vertical configurations. Cone-beam computed tomography (CBCT) images were imported into an image processing software for calculating pulp cavity and tooth volumes. Finite element (FE) models of right maxillary central incisor derived from CBCT images were investigated. Cres levels were presented as percentages of the root length from the root’s apex. The relationship between the location of Cres, and volume ratios were evaluated. The results indicated that the anterior open bite group depicted variation in tooth dimension, as indicated by increased dental pulp cavity and root canal volumes, decreased tooth volume and root volume of anterior teeth. The means of pulp cavity/ tooth volume ratio and root canal/ root volume ratio in anterior open bite group were significantly greater than those in anterior normal overbite group. However, no significant differences of the means of pulp chamber/ crown volume were found between groups. The average location of Cres in hypofunction maxillary central incisors was 0.62 mm (3.7%) apically from the normal group, measured from root apex. The difference was statistically significant (P < 0.01). There was a significant correlation between root canal/root volume ratio and Cres locations (r = -0.780, P < 0.001). In conclusion, occlusal hypofunction in anterior open bite malocclusion might lead to an increase of the pulp cavity volume. Moreover, the locations of Cres in hypofunctional group were located more apical than the functional group. As the pulp cavity volume increased, the levels of Cres apically shifted. Our results suggest that any dental procedures, for example, orthodontic treatment should be prudently determined in anterior open bite patient with hypofunctional teeth to avoid the incident of unpleasant tooth movement and root resorption during orthodontic treatment.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAnterior Open Bite: Determination of Dental Pulp Cavity Volume and Center of Resistance Using CBCT and Finite Element Methoden_US
dc.title.alternativeฟันหน้าสบเปิด:การหาปริมาตรของโพรงเนื้อเยื่อในฟันและตา แหน่งของ จุดศูนย์กลางความต้านทานโดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี และ วิธีไฟไนต์เอเลเมนต์en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshOcclusion (Dentistry)-
thailis.controlvocab.lcshDentistry-
thailis.controlvocab.lcshTeeth -- Abnormalities-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะการสบเปีดของฟันทางด้านหน้า (Anterior open bite) คือ รูปแบบการสบฟันที่ไม่มีการ สัมผัสกันของฟันระหว่างฟันหน้า ในการศึกษาก่อนหน้านี้ถึงผลของการ ไม่สบกันของฟัน (occlusal hypofunction) ในสัตว์ทดลองที่มีภาวะสบเปิดของฟันทางค้านหน้าพบว่าส่งผลให้ขนาดของโพรง ประสาทฟันเพิ่มขึ้น โดยภายในของโพรงประสาทฟันจะประกอบไปด้วย เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดอ่อน ระบบหลอดเลือด น้ำเหลือง และระบบประสาทที่อยู่กายในฟัน ซึ่งการศึกษาก่อนหน้านี้มีการรายงาน ปริมาตรของโพรงประสาทฟันในผู้ป่วยที่มีการสบฟันแบบปกติ อย่างไรก็ตามยังไม่มีรายงาน การศึกษาใดที่แสดงปริมาตรของโพรงประสาทฟันผู้ป่วยที่มีภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้า ขั้นตอนการรักษาสำหรับการแก้ไขภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้ามีด้วยกันหลายวิธี โดย ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้า ในผู้ป่วยที่มีภาวะการ สบ เปิดของฟันทางค้านหน้าในระดับความรุนแรงเพียงเล็กน้อยถึงปานกลาง การจัดฟันเพื่ออำพรางความ ผิดปกติของโครงสร้างกระดูกขากรรไกร (Camouflage orthodontic treatment) มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ชดเชยตำแหน่งฟันที่ผิดปกติ การควบคุมเวกเตอร์แรงและโมเมนต์เป็นสิ่งสำคัญในการเคลื่อนฟัน เพื่อให้ได้รูปแบบของการเคลื่อน ฟันที่ถูกต้องตามต้องการ จุดศูนย์กลางความด้านทาน (Cres) เป็น จุดอ้างอิงที่สำคัญที่เมื่อให้แรงผ่านที่จุดนี้จะส่งผลทำให้ฟันเกิดการเคลื่อนแบบเลื่อนที่ (bodily tooth movement) ตำแหน่งของจุดศูนย์กลางความต้านทานขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ดังนั้นการแปรผัน ของขนาดฟันและปริมาตรของโพรงประสาทฟันในผู้ป่วยที่มีภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้า อาจส่งผลต่อตำแหน่งของจุดศูนย์กลางความต้านทานของฟันด้วยเช่นกัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของฟันที่มีภาวะ occlusal hypofunction ต่อ ตำแหน่งจุดศูนย์กลางความต้านทานของฟัน ในผู้ป่วยที่มีภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้า สมมติฐานหลักของการศึกษานี้คือฟันที่มีภาวะ occlusal hypofunction จะส่งผลต่อขนาดโพรง ประสาทฟันที่เพิ่มมากขึ้นและตำแหน่งของจุดศูนย์กลางความต้านทานของฟันที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้ป่วยจำนวน 46 ราย ที่มีอายุระหว่าง 15 ถึง 29 ปี ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามลักษณะการสบ ฟันในแนวดิ่งของฟันหน้าและโครงสร้างของขากรรไกรแนวดิ่ง โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟ อิมเมจ (CBCT) ของผู้ป่วยจะถูกนำข้ามาในซอฟต์แวร์ประมวลผลภาพเพื่อคำนวณปริมาตรฟันและ โพรงประสาทฟัน แบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์ของฟันตัดบนซี่กลางด้านขวาของผู้ป่วยที่ได้มาจาก ภาพ CBCT จะถูกนำมาเพื่อคำนวณหาตำแหน่งจุดศูนย์กลางความด้านทาน ระดับของจุดศูนย์กลาง ความต้านทานจะถูกนำเสนอเป็นเปอร์เซ็นต์ของความยาวรากเมื่อวัดจากปลายรากฟัน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มที่มีภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้ามีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ ฟัน โดยพบว่าในฟันหน้าจะมีการเพิ่มขึ้นของปริมาตร โพรงประสาทฟันและปริมาตรของคลองราก ฟัน ส่วนปริมาตรของฟันและรากฟันมีขนาดลดลง ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนโพรงประสาทฟัน/ปริมาตร ของฟัน และอัตราส่วนของคลองรากฟัน/ปริมาตรของรากในกลุ่มที่มีภาวะการสบเปิดของฟันทาง ด้านหน้ามีค่ามากกว่ากลุ่มที่มีการสบฟันปกติอย่างมีนัยสำคัญ ตำแหน่งเฉลี่ยของจุดศูนย์กลางความ ต้านทานของฟันในกลุ่มที่มีภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้าอยู่ที่ 0.62 มม. (3.7%) ไปทางปลาย รากฟันเมื่อเทียบกับกลุ่มที่มีการสบฟันปกติ นอกจากนั้นขังพบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ ระหว่างอัตราส่วนของปริมาตรคลองรากฟัน/ปริมาตรของรากฟันและตำแหน่งจุดศูนย์กลางความ ต้านทาน (r = -0.780, P < 0.001) โดยสรุป ภาวะการสบเปิดของฟันทางด้านหน้าส่งผลทำให้ปริมาตรโพรงประสาทเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ตำแหน่งของจุดศูนย์กลางความต้านทานในกลุ่มภาวการณ์สบเปิดของฟันทางด้านหน้าจะอยู่ ที่ปลายรากฟันมากกว่ากลุ่มที่สบฟันปกติ เมื่อปริมาตรโพรงประสาทฟันเพิ่มขึ้น ระดับของตำแหน่ง ของจุดศูนย์กลางความต้านทานจะขับไปทางปลายรากมากขึ้นตามไปด้วย จากผลการศึกษาของเรา แนะนำว่าการให้แรงและทิศทางของแรงในทันตกรรมจัดฟันควรได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบใน ผู้ป่วยที่มีภาวการณ์สบเปิดของฟันทางด้านหน้าเพื่อหลีกเลี่ยงการเคลื่อนที่ของฟันที่ไม่พึงประสงค์และ การละลายของรากฟันระหว่างการจัดฟันen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610955902 กชพล คูหารัตนไชย.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.