Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78158
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัทนินทร์ มนตรีขจร-
dc.contributor.advisorสุทธิชัย กฤษณะประกรกิจ-
dc.contributor.authorนพนัยน์ ไชยชนะen_US
dc.date.accessioned2023-06-25T08:01:00Z-
dc.date.available2023-06-25T08:01:00Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78158-
dc.description.abstractCannabidiol (CBD) is a group of non-psychological components of Cannabis sativa that is widely used in medicine. CBD was demonstrated to exert its anti-inflammatory effect in distinct types of oral cells; however, its proliferative effect has not yet been extrapolated. Besides alleviation of periodontal disease progression, promotion of periodontal regeneration by enhanced proliferation of various cells within periodontium is another goal of periodontal therapy. This study aimed to determine the cytotoxicity of CBD and the proliferation of human gingival fibroblasts (HGFs) and periodontal ligament (PDL) cells upon treatment with CBD. Method: HGFs and PDL cells were treated with 0.01-30 µM of CBD or 1% methanol as a solvent control. An MTT assay was conducted for determination of cytotoxicity. The proliferative effect of CBD was investigated by a BrdU assay, and then confirmed by Western blot hybridization and immunofluorescence for expressions of cyclin D1 and Ki-67, two markers of cell proliferation. Result: The results showed no cytotoxicity was found in HGFs or PDL cells upon treatment with any doses of CBD up to 30 µM. The mean percentage of proliferation in HGFs was significantly enhanced by 3 and 10 µM of CBD (p<0.001), while that of PDL cells was found to be significantly increased by CBD as low as 0.01 µM up to 3 µM (p<0.01). Consistently, protein expressions of cyclin D1 and Ki-67 were up-regulated upon treatment with CBD from 1 to 10 µM. Conclusion: Treatment with non-toxic doses of CBD promotes the proliferation of HGFs and PDL cells in vitro.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของสารแคนนาบิไดออลต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์สร้างเส้นใยเหงือก และเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ในมนุษย์en_US
dc.title.alternativeProliferative Effect of Cannabidiol (CBD) in Primary Human Gingival Fibroblasts and Periodontal Ligament Cellsen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashแคนนาบิไดออล-
thailis.controlvocab.thashเอ็นยึดปริทันต์-
thailis.controlvocab.thashโรคปริทันต์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแคนนาบิไดออล (Cannabidiol; CBD) เป็นสารประกอบสำคัญที่ไม่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ของพืชกัญชา หรือ Cannabis sativa และถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายในทางการแพทย์ อีกทั้ง CBD ได้ถูกนำมาศึกษาและทดสอบถึงผลในการต้านการอักเสบต่อเซลล์ในช่องปากประเภทต่างๆ แต่ อย่างไรก็ตามผลต่อกระบวนการกระตุ้นการเพิ่มจำนวนของเซลล์นั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด และใน การรักษาโรคปริทันต์ นอกเหนือไปจากการลดความรุนแรงของการดำเนินโรคแล้วนั้น การส่งเสริม การสร้างเนื้อเยื่อใหม่ของอวัยวะปริทันต์ โดยการเพิ่มจำนวนของเซลล์ต่างๆ ภายในอวัยวะปริทันต์ก็ ถือเป็นเป้าหมายหลักของการรักษาได้เช่นกัน จึงนำมาซึ่งการศึกษาครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ทดสอบผลของสาร CBD ต่อความเป็นพิษต่อเซลล์ และต่อการกระตุ้นการเพิ่มจำนวนของเซลล์สร้าง เส้นใยเหงือกและเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ในมนุษย์ วิธีการ: เซลล์สร้างเส้นใยเหงือก และเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ถูกทดสอบด้วยสาร CBD ที่ความ เข้มข้น ตั้งแต่ 0.01-30 µM โดยมีเมทานอลร้อยละ 1 ที่เป็นตัวทำละลายเป็นกลุ่มควบคุม ทำการ ทดสอบด้วยวิธีเอ็มทีทีเพื่อตรวจหาความเป็นพิษต่อเซลล์ ทำการทดสอบผลของสาร CBD ต่อการเพิ่ม จำนวนของเซลล์ด้วยวิธีบีอาร์ดียู จากนั้นทำการยืนชันผลการทดสอบต่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์ด้วย วิธีการสกัด โปรตีนและเวสเทิร์นบลอท ไฮบริ ไคเซชัน และวิธีอิมมูโนฟลูออเรสเซนส์ สำหรับดูการ แสดงออกของโปรตีนไซลินดี1 และเคไอ-67 ซึ่งเป็น โปรตีนบ่งชี้การเพิ่มจำนวนเซลล์ ผลการศึกษา: ไม่พบความเป็นพิษต่อเซลล์ทั้งในเซลล์สร้างเส้นใยเหงือก หรือเซลล์เอ็นยึด ปริทันต์เมื่อได้รับสาร CBD ที่ความเข้มข้นต่างๆ ตั้งแต่ 0.01-30 µM พบร้อยละค่าเฉลี่ยของการเพิ่ม จำนวนในเซลล์สร้างเส้นใยเหงือกเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ความเข้มข้น 3 µM และ 10 M (p<0.001) ในขณะที่พบว่าเซลล์เอ็นยึดปริทันต์มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ความเข้มข้นที่เพียง 0.01 แM ถึง 3 µM (p<0.01) ซึ่งผลที่ได้สอดคล้องไปกับการแสดงออกของโปรตีนไซคลิน ดี1 และเคไอ-67 ที่พบมี การแสดงออกที่เพิ่มขึ้นเมื่อได้รับสาร CBD ที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 1 µM ถึง 10 MM สรุป: การใช้สาร CBD ที่ความเข้มข้นที่ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ช่วยส่งเสริมการเพิ่มจำนวนของ เซลล์สร้างเส้นใยเหงือก และเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ในมนุษย์ทางห้องปฏิบัติการen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931036 นพนัยน์ ไชยชนะ.pdf4.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.