Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPinkaew Laungaramsri-
dc.contributor.advisorAriya Svetamra-
dc.contributor.advisorThannabahtr Rakmolaja-
dc.contributor.authorThouchanok Sattayaviniten_US
dc.date.accessioned2023-06-25T03:54:30Z-
dc.date.available2023-06-25T03:54:30Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78148-
dc.description.abstractThis dissertation is qualitative research that applies the poststructuralism method to study how women have been shaped and reshaped their bodies in various dimensions. The dissertation selects Vietnamese married women who had abortions in different ages, statuses, occupations, beliefs, and experiences. The main argument of the study proposes to debate with the Western binary debate on abortion between pro-life and pro-choice, which they struggle for individual rights and personhoods. This binary debate on abortion cannot bring us to understanding the abortion situation as universal. There are different conditions, patriarchal ideologies, cultures, and contexts. In this regard, it convinces the dissertation to go beyond the binary debate on abortion and shift to study the politics of abortion in Vietnam which is different from the Western claim. Women in Vietnam have encountered Confucian patriarchal ideologies and Socialist state discourses that control women and their bodies to be “docility”. As a result, the dissertation is divided into two main parts: the first part analyzes the dominant structure of Vietnam, which has governed by the technique of power over life. The genealogy of women’s reproduction elucidated that women’s bodies are differently governed by the technique of modern power. Therefore, the study analyses from the French colonial era until the Socialist state, in which women’s reproduction was shaped by the powers of to ‘make’ live, and to ‘let’ die. In this regard, women’s bodies have been reproduced for long history. Recently, women in Vietnam still struggle with dominant power and discourse that regulate them through two mechanisms (1) the state: population control, small-size family, and the medicalization of health, and (2) Confucian sexual morality: virtuous womanhood and motherhood, proscribing premarital sex, and son-preference. The power is called biopower and exercises the different levels of power relations between individuals, families, and the state. The technique of power tames women and bodies to be docile. In the second part of negotiating subjectivities, the study does not describe women being “docile body”, but it also analyzes women’s reclaiming power over the womb. It is the way in which negotiate with the regulatory power and discourse on the bodies. The meaning of the womb shifts according to women’s subjectivities. Abortion is, therefore, the act of transgressing the traditional sexual norms and reflects the diverse meaning of subjectivities.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Politics of reproduction and negotiating subjectivities: vietnamese women’s abortion in Hanoi city, Socialist Republic of Vietnamen_US
dc.title.alternativeการเมืองของการเจริญพันธุ์และการต่อรองอัตภาวะ: การยุติการตั้งครรภ์ของผู้หญิงเวียดนามในเมืองฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshWomen -- Vietnam-
thailis.controlvocab.lcshPregnancy -- Vietnam-
thailis.controlvocab.meshWomen's rights-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่นำวิธีวิทยาหลังโครงสร้างนิยมมาศึกษาการก่อรูปและการก่อรูปใหม่ของเนื้อตัวร่างกายผู้หญิงผ่านการศึกษาความสัมพันธ์เชิงอำนาจ งานศึกษานี้เลือกกลุ่มผู้หญิงเวียดนามที่แต่งงานแล้วและเคยมีประสบการณ์การยุติตั้งครรภ์ โดยกลุ่มผู้หญิงที่เข้าร่วมสัมภาษณ์มีความหลากหลายทางอายุ สถานะ อาชีพ ความเชื่อ และประสบการณ์การยุติตั้งครรภ์ ข้อถกเถียงหลัก งานศึกษานี้ถกเถียงกับกรอบคิดคู่ตรงข้ามตะวันตกระหว่างกลุ่มผู้สนับสนับสนุนชีวิต และกลุ่มผู้สนับสนุนทางเลือกของผู้หญิง โดยการถกเถียงของทั้งสองกลุ่มมีแนวคิดคล้ายคลึงกันคือ การต่อสู้เพื่อสิทธิของปัจเจกบุคคล หรือ ความเป็นบุคคล ซึ่งการอธิบายของทั้งกลุ่มไม่สามารถนำมาทำความเข้าใจการยุติการตั้งครรภ์แบบสากลได้ เนื่องจากผู้หญิงเวียดนามอยู่ภายใต้ความแตกต่างทางเงื่อนไข อุดมการณ์ปิตาธิไตย วัฒนธรรมและบริบทที่แตกต่างจากตะวันตก ด้วยเหตุนี้งานดุษฎีนิพนธ์นี้พยายามออกจากข้อถกเถียงกรอบคิดคู่ตรงข้ามของการยุติการตั้งครรภ์ และหันกลับมาศึกษาการเมืองเรื่องการทำแท้งในเวียดนามที่มีความแตกต่างจากการอธิบายเรื่องการยุติตั้งครรภ์ที่ต่างจากตะวันตก เนื่องจากผู้หญิงในเวียดนามต้องต่อสู้กับอุดมการณ์ปิตาธิปไตยแบบขงจื้อและวาทกรรมของรัฐ ที่ควบคุมเนื้อตัวร่างกายผู้หญิงให้กลายเป็น “ร่างกายใต้บงการ” ในงานดุษฎีนิพนธ์นี้จึงแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนที่หนึ่ง วิเคราะห์โครงสร้างอำนาจและการควบคุมในประเทศเวียดนาม ที่อำนาจสมัยใหม่ปกครองผ่านเทคนิคอำนาจเหนือชีวิต จากการศึกษาวงศาวิทยาการเจริญพันธุ์ของผู้หญิงสะท้อนให้เห็นว่า เทคนิคของอำนาจสมัยใหม่ที่ควบคุมเหนือเนื้อตัวร่างกายผู้หญิงมีความแตกต่างกัน ดังนั้นในงานศึกษานี้จึงศึกษาการควบคุมการเจริญพันธุ์ของผู้หญิงตั้งแต่ช่วงอาณานิคมฝรั่งเศสจนกระทั้งรัฐสังคมนิยม เห็นได้ว่า การเจริญพันธุ์ของผู้หญิงถูกสร้างโดยอำนาจ “การทำให้มีชีวิต” และ “อนุญาตให้ตาย” เนื้อตัวร่างกายของผู้หญิงจึงถูกผลิตซ้ำมาอย่างยาวนาน แม้กระทั้งในปัจจุบัน ผู้หญิงในเวียดนามยังคงต่อสู้กับอำนาจควบคุมและวาทกรรมที่กำกับพวกเธอผ่าน 2 กลไก คือ (1) กลไกของรัฐ ได้แก่ การควบคุมประชากร ครอบครัวขนาดเล็ก และสุขภาวะทางการแพทย์ และ (2) กลไกศีลธรรมทางเพศของขงจื้อ ได้แก่ ความเป็นผู้หญิงและแม่ที่มีศีลธรรม การประณามเพศสัมพันธ์ก่อนแต่ง และความนิยมลูกผู้ชาย โดยอำนาจนี้เรียกว่าอำนาจชีวญาณ ที่ทำงานผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจหลายระดับ คือ ปัจเจก ครอบครัว และรัฐ เทคนิคของอำนาจพยายามทำให้ร่างกายของผู้หญิงกลายเป็นร่างกายอันเชื่องเชื่อ ในส่วนที่สองการต่อรองอัตภาวะ ในงานศึกษานี้ไม่ได้อธิบายผู้หญิงในฐานะ “ร่างกายใต้บงการ” เพียงมิติเดียวเท่านั้น แต่พยายามวิเคราะห์การเรียกคืนอำนาจของผู้หญิงเหนือมดลูกของพวกเธอ ซึ่งเป็นวิถีการต่อรองกับอำนาจกำกับควบคุมและวาทกรรมบนเนื้อตัวร่างกายของพวกเธอ ดังนั้นในงานนี้จึงอธิบายการยุติการตั้งครรภ์เป็นการกระทำที่พยายามขัดขืนต่อปทัสถานทางเพศแบบดั้งเดิมและสะท้อนย้อนกลับความหมายของอัตภาวะของผู้หญิงในฐานะผู้กระทำการen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600455903-ธัชชนก สัตยวินิจ.pdfไฟล์อัพเดตล่าสุด3.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.