Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติ ภูริทัต-
dc.contributor.advisorพรชนิตว์ลี นาราช-
dc.contributor.authorอนันทวี อ่อนอรุณen_US
dc.date.accessioned2023-06-24T09:38:59Z-
dc.date.available2023-06-24T09:38:59Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78143-
dc.description.abstractIndependent research “Research Management System for Students of the Master of Arts Program in Information Science, Chiang Mai University”, the objectives of this research were 1) to develop a research management system of the Master's Degree Program Department of Information Science. Therefore, it is necessary, and 2) to communicate between graduate students and advisors through the Internet system, so that they can communicate with each other more easily and quickly. In addition, advisors andcourse committees can track the progress of each master's thesis and independent research on what stage they are doing, such as developing a layout, tool development, data collection, and data analysis, etc. It also reduces the time wasted. The course committee or administrators can also get an overview of the faculty in each discipline and how many advisory students are involved in the dissertation and independent research groups, and know at what stage each student has worked including a system for collecting thesis and independent research. Including systematic drafts of research papers and related documents makes it easy to find information stored in the same data source fast and efficient, it is useful to users of the system in studying, researching, or applying it in making reports or related projects in the future. From the satisfaction assessment, it was found that the level of satisfaction in using the research management system in relation to the communication between the system and the user, this is an average of 3.91. If you consider each item, it is found that it is difficult - easy to use the system, including displaying data in a format and having the same standard and accuracy in linking within the website meet the needs. The aesthetic aspect is that the composition of the screen is appropriate and the colors and font sizes are clearly visible at a high level averaged 4.17. The processing aspect of the system is the process of adding, deleting, and editing the thesis and thesis papers, and presentation of reports to users at a high level averaged 4.17. And the service that meets the needs of users is the presentation of basic information within the system is accurate. The management and display of system user information is accurate. The details of the thesis proceedings are accurate. User reports are accurate, and the presentation of the executive report information is accurate at a high level averaged 4.32en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบบริหารงานวิจัยของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDeveloping a Research Administrative System for the Graduate Student in Information Science Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมคอมพิวเตอร์-
thailis.controlvocab.thashระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์-
thailis.controlvocab.thashวิจัย -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระเรื่อง "ระบบบริหารงานวิจัยของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่" มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริหารงานวิจัย ของหลักสูตรมหาบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ ผลการศึกษาพบความต้องการของระบบ ต่อไปนี้สามารถใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาโดย ผ่านระบบบนอินเทอร์เน็ตเพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้น รวมถึง คณะกรรมการหลักสูตรยังสามารถติดตามความก้าวหน้าของการจัดทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้า อิสระของนักศึกษาแต่ละคนในขั้นตอนต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาเค้าโครง การพัฒนาเครื่องมือ การเก็บ รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล เป็นต้น นอกจากนี้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรหรือผู้บริหารยัง สามารถทราบภาพรวมการรับภาระงานการดูแลนักศึกษาของคณาจารย์ ในสาขาวิชาแต่ละคน รวมถึง ระบบสามารถจัดเก็บข้อมูลวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ รวมถึงบทความวิจัยฉบับร่างและ เอกสารที่เกี่ยวข้องทำให้สามารถสืบค้นข้อมูลที่จัดเก็บไว้ได้สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เป็น ประโยชน์ต่อผู้ใช้ระบบในการศึกษา ค้นคว้า หรือนำมาประยุกต์ใช้ในการทำรายงานหรือโครงงานที่ เกี่ยวข้องต่อไป ผลรวมการประเมินความพึงพอใจ พบว่า ระดับความพึงพอใจในการใช้ระบบบริหาร งานวิจัยด้านการติดต่อระหว่างระบบกับผู้ใช้งานอยู่ในระดับมาก ( x ̅ = 3.91) หากพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดวางองค์ประกอบของหน้าจอมีความเหมาะสมและสีและขนาดตัวอักษรสามารถมองเห็น ได้ชัดเจน อยู่ในระดับมาก (x ̅ = 4.11) ค้านการประมวลผลของระบบ คือ ขั้นตอนการ เพิ่ม ลบ แก้ไข ข้อมูลการดำเนินวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ และการนำเสนอรายงานต่อผู้ใช้งาน อยู่ในระดับมาก (x ̅ = 4.17) และด้านการให้บริการที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน คือ การนำเสนอข้อมูลพื้นฐาน ภายในระบบมีความถูกต้อง การจัดการและการแสดงข้อมูลผู้ใช้ระบบมีความถูกต้อง การแสดงรายละเอียดข้อมูลการดําเนินวิทยานิพนธ์มีความถูกต้องการข้อมูลรายงานสําหรับ ผู้ใช้มีความถูกต้อง และการแสดงข้อมูลรายงานสําหรับผู้บริหารมีความถูกต้องอยูในระดับมาก (x ̅= 4.32)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132027 อนันทวี อ่อนอรุณ.pdf12.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.