Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78128
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันดี ธรรมจารี-
dc.contributor.advisorวิม เหนือเพ็ง-
dc.contributor.authorธิดาภัทร ชินทองอุหยัดen_US
dc.date.accessioned2023-06-23T10:25:31Z-
dc.date.available2023-06-23T10:25:31Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78128-
dc.description.abstractIn this research, a new biopolymer composite was studied and explicated. The improvement of soil structure and aggregate strengthening of sandy loam soil using natural rubber (NR) was studied. The research can be divided into 2 parts. For the first part, The formation of biopolymer composites form soil and NR latex treated with 2 and 6 wt% of Tween 80 was investigated, respectively. The NR latex solution is used different condition (3, 5 and 7 wt% of dry mass soil) to improved on soil mechanical properties of at different cured times and treatment conditions. The second part, The biopolymer composite formed soil and non-treated NR latex, was studied. NR latex is a biopolymer with the potential as soil strengthening materials due to the cross-link of hydrocarbon polymer compounds. The curing time and treatment conditions of composite were observed. The results showed that the NR latex with 2 wt% Tween 80 was well distributed in the soil and improved aggregate strengthening of composite due to potential interparticle interlocking of structure composite. The compressive strength and direct shear strength of the final treated composite were studied under various curing conditions. As a result of curing time and moisture content affected to mechanical properties, the composite treated with NR latex cured for 7 days showed the highest bond strength in thermal dry condition compared to those cured in air dry and submerged air dry conditions. The results showed that the moisture content is important due to the continuous evaporation of water which leads to the increase of composite strength. However, curing composite at thermal condition ( 45+5 'C) overtime leads to shrinkage and becoming brittle. Additionally, The composite cured in both conditions of air dry and submerged air dry showed an efficient bond strength compared to that cured in thermal dry, which over cured time. The soil treated with NR latex 5 wt% showed the highest strength on final day at 42 days cured both of air dry and submerged air dry conditions. The mechanical strength of the composites depends on quantities of NR latex, interoperation of NR latex has increase to bond strength of the composite lead to improved mechanical properties. However, the biopolymer composite treated with NR latex 7 wt% showed that the agglomerate of NR lead to inefficient to potential interparticle of composite. Thus, the linkage and interaction between NR latex and soil particles appeared to depend on curing time, moisture content, NR content and curing conditions of biopolymer composites.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเตรียมและสมบัติทางกายภาพของสารปรับปรุงดินที่เตรียมจากน้ำยางธรรมชาติen_US
dc.title.alternativePreparation and physical properties of soil conditioner made from natural rubber latexen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashยางพารา-
thailis.controlvocab.thashสารลดแรงตึงผิว-
thailis.controlvocab.thashวัสดุทางการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashวัสดุศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาและพัฒนาวัสดุชีวภาพชนิดใหม่ โดยการพัฒนาโครงสร้างและการยึด เกาะที่แข็งแรงของดินร่วนปนทรายโดยใช้น้ำยางธรรมชาติ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วน แรกคือการศึกษาการขึ้นรูปของวัสดุผสมชีวภาพจากดินและน้ำยางธรรมชาติที่ปรับปรุงด้วยสารลด แรงตึงผิว (ทวีน 80) 2 และ 6 wt% ของปริมาณยางแห้ง โดยน้ำยางศึกษาที่ความเข้มข้นต่างกันเติมใน ดิน 3, 5 และ 7 wt% ของมวลดินแห้ง เพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกลของดินที่บ่มในระยะเวลาและเงื่อนไข ที่ต่างกัน สำหรับส่วนที่สอง คือการศึกษาการขึ้นรูปของวัสดุผสมชีวภาพจากดินและน้ำยางธรรมชาติ ที่ไม่ได้ปรับปรุงด้วยสารลดแรงตึงผิว การเลือกใช้น้ำยางธรรมชาติเนื่องจากน้ำยางธรรมชาติเป็นพอลิ- เมอร์ชีวภาพเป็นวัสดุที่มีศักยภาพในการเพิ่มความแข็งแรงให้แก่ดินจากการเชื่อมโยงของ ไฮโครคาร์บอนที่เป็นสารประกอบพอลิเมอร์ ในการศึกษานี้ได้ตรวจสอบเวลาและเงื่อนไขในการบ่ม จากผลการทดสอบพบว่าน้ำยางที่มีการปรับปรุงด้วยทวีน 80 ที่ 2 wt% แสดงการกระจายตัวที่ สม่ำเสมอและสามารถปรับปรุงสมบัติด้านความแข็งแรงของวัสดุได้สูงที่สุดเนื่องจากมีศักยภาพใน การประสานกันระหว่างโครงสร้างภายใน นอกจากนี้จากการทดสอบการต้านทานต่อกำลังอัดและแรง เฉือนของวัสดุผสมที่บ่มในระยะเวลาสุดท้าย พบว่าระยะเวลาการบ่มและปริมาณความชื้นมีผลต่อ สมบัติเชิงกลจากการพิจารณาพบว่า วัสดุผสมที่บ่มด้วยระยะเวลา 7 วันแสดงความแข็งแรงจากการ เชื่อมแน่นสูงที่สุดภายใต้การบ่มด้วยกวามร้อนซึ่งมีประสิทธิภาพการเชื่อมแน่นมากกว่าการบ่มภายใต้ อุณหภูมิห้องและภายใต้น้ำเนื่องจากเมื่อน้ำมีการระเหยที่มากขึ้นส่งผลต่อความแข็งแรงของการเชื่อม แน่นของวัสคุผสม อย่างไรก็ตามหากเพิ่มระยะเวลาการบ่มภายใต้ความร้อน (45+5 *C) ที่มากขึ้นนำไปสู่การหดตัวและเกิดความเปราะ โดยการบ่มวัสดุผสมภายใต้อุณหภูมิห้องและภายใต้น้ำแสดง ประสิทธิภาพของการเชื่อมแน่นที่สูงกว่าในระขะเวลาการบ่มที่เพิ่มขึ้น วัสดุผสมที่ปรับปรุงด้วยน้ำยาง 5 wt% แสดงความแข็งแรงสูงสุดในการบ่มที่ 42 วัน ภายใต้การบ่มที่อุณหภูมิห้องและน้ำ นอกจากนี้ การเชื่อมแน่นยังขึ้นอยู่กับปริมาณขงน้ำยางธรรมชาติ พบว่าหากปริมาณน้ำยางมากเกินส่งผลทำให้ ความแข็งแรงต่ำจากเนื่องจากการเกาะกลุ่มกันของน้ำยาง พิจารณาได้จากวัสดุผสมที่ปรับปรุงด้วยน้ำ ยาง 7 wt% คังนั้นการเชื่อมแน่นของวัสดุผสมขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการบ่ม ปริมาณความชื้น ปริมาณ น้ำยาง และเงื่อนไขการบ่มen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531060 ธิดาภัทร ชินทองอุหยัด.pdf16.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.