Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนทิพย์ ตั้งเอกจิต-
dc.contributor.authorณัฐวิชญ์ ธีรสุวิภากรen_US
dc.date.accessioned2023-06-23T01:19:49Z-
dc.date.available2023-06-23T01:19:49Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78122-
dc.description.abstractThis independent study aimed to investigate the relationship between corporate governance and earnings quality of the companies listed on the Stock Exchange of Thailand (SET). The study was conducted by comparing the earnings quality of those companies listed on the SET. The samples were the companies whose corporate governance was assessed by the Corporate Governance Report of Thai Listed Companies project (CGR) and the ASEAN Corporate Governance Scorecard (ACGS), or that participated in Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption project (CAC). A total of 1,990 data entries on stock price, dividend per share, and earnings per share of those companies listed on the SET as obtained from the SETSMART database in 2013 –2019 (B.E 2556-2562) were collected. These acquired data were, then, analyzed by using the multiple regression method with the Easton and Harris’s Return Model (1991). To examine the relationship between the corporate governance and earnings quality, values of the coefficient of determination (Adjusted R2 ), the Akaike’s Information Criterion (AIC), and the Bayesian Information Criterion (BIC) obtained from the samples listed in each assessment institute or project as mentioned earlier were compared and discussed. According to the study, the results revealed that values of the coefficient of determination (Adjusted R2 ) of the companies listed in the CGR (or participated in the CAC) with a high level of corporate governance scores were higher than the companies (that did not participate in the CAC with a low level of corporate governance scores. This finding correlated to the results of the analysis of AIC and BIC values, which indicated that the AIC and BIC values of the companies listed in the CGR (or participated in the CAC) with a high level of corporate governance scores were lower than the companies (that did not participate in the CAC) with a low level of corporate governance scores. Consequently, it could be concluded that the earnings of the companies listed in the CGR (or participated in the CAC) with a high level of corporate governance scores could reflect their stock prices in a better way than the companies (that did not participate in the CAC) with a low level of corporate governance scores did. In the meanwhile, the findings presented that the Adjusted R2 value of the companies enlisted in the ranking of the ACGS project was lower than the value of the companies that were not enlisted in the ranking. This result correlated to the BIC value but was different from the AIC value. Therefore, it could not say that the companies enlisted in the ranking of the ACGS project could have better earnings quality than those that were not enlisted in the ranking list. However, the results of this study could benefit the investors in a way that they could make use of information obtained from the corporate governance assessment for their decision-making. An agent that was responsible for the corporate governance could apply this study as a guideline to improve the corporate governance criteria to be more effective and appropriate.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectThe Stock Exchange of Thailanden_US
dc.subjectการกำกับดูแลกิจการen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการกับคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRelationship between corporate governance and earnings quality of companies on The Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
thailis.controlvocab.thashการบัญชี-
thailis.controlvocab.thashการกำกับดูแลกิจการ-
thailis.controlvocab.thashธนาคารและการธนาคาร -- การกำกับดูแลกิจการ-
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashกำไรต่อหุ้น -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการกับคุณภาพ กำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเปรียบเทียบคุณภาพกำไรของ บริษัทจดทะเบียนที่ได้รับการประเมินการกำกับดูแลกิจการจากสถาบันต่าง ๆ เช่น โครงการสำรวจ การกำกับดูแลกิจการบริษัทจตทะเบียนไทย (CGR) และ โครงการ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ACGS) หรือเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) โดยเก็บข้อมูลราคาหลักทรัพย์ เงินปันผลต่อหุ้นประจำงวด และกำไรต่อหุ้นของบริษัทจต ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจากฐานข้อมูล SETSMART ในระหว่างปี พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2562 รว มทั้งสิ้น 1,990 ข้อมูล และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอยแบบพหุคุณ โดยใช้ แบบจำลอง Return Model ของ Easton and Harris (1991) และพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการ กำกับดูแลกิจการกับคุณภาพกำไร โดยเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธ์การตัดสินใจ (Adjusted R) ด่ AIC และ BIC ของกลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มภายใต้โครงการต่าง ๆ ข้างต้นที่จำแนกตามเกณฑ์การประเมิน ของโครงการนั้นๆ ผลการศึกษาพบว่าค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Adjusted R2) ของกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่ ได้รับคะแนนสูงในการประเมินการกำกับดูแลกิจการตามโดรงการ CGR (หรือเข้าร่วมโครงการ CAC) มีค่าสูงกว่ากลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่ได้รับคะแนนต่ำ (หรือไม่เข้าร่วมโครงการ CAC) สอดคล้องกับ ผลการวิเคราะห์ด้วยค่า AIC และ BIC นั่นคือ กลุ่มบริษัทที่ได้รับคะแนนสูงในโครงการ CGR (หรือ เข้าร่วมโครงการ CAC) มีค่าต่ำกว่ากลุ่มบริษัทที่ได้รับคะแนนต่ำ (หรือไม่เข้าร่วมโครงการ CAC แสดงว่าข้อมูลกำไรของกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่ได้รับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่สูงในโครงการ CGR (หรือเข้าร่วม โครงการ CAC) มีความสามารถในการอธิบายราคาหลักทรัพย์ได้ศึกษากลุ่มบริษัท จดทะเบียนที่ได้รับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่ต่ำ (หรือไม่เข้าร่วมโครงการ CAC ในขณะที่กลุ่มบริษัทที่จตทะเบียนที่ถูกเผยรายชื่อในการ จดลำดับใน โครงการ ACGS มีค่า Adjusted R2 น้อยกว่ากลุ่มบริษัทที่ไม่ใด้รับการเปิดเผยรายชื่อในการจัดลำดับโครงการ สอดคล้องกับ ผลการวิเคราะห์ค่า BIC แต่ไม่สอดคล้องกับผลการวิคราะห์ด้วยค่า AIC ตังนั้น จึงไม่สามารถสรุปได้ ว่าบริษัทที่ได้รับการเปิดเผยรายชื่อในการจัดลำดับใน โครงการ ACGS มีคุณภาพกำไรที่ดีกว่ากลุ่ม บริษัทที่ไม่ได้รับการเปิดเผยรายชื่อในการจัดลำดับ แต่อย่างไรก็ดี ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์ต่อนักลงทุน โดยสามารถใช้ข้อมูลจากประเมินการ กำกับดูแลกิจการประกอบการตัดสินใจได้ และเป็นแนวทางให้หน่วยงานการกำกับดูแลกิจการพัฒนา หลักเกณฑ์การประเมินในการกำกับตูแลกิจการให้มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมต่อไปen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532209 ณัฐวิชญ์ ธีรสุวิภากร.pdf4.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.