Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSukolrat Boonyayatra-
dc.contributor.advisorDuangporn Pichpol-
dc.contributor.advisorKulwadee Phanachet-
dc.contributor.authorTINGRUI ZHANGen_US
dc.contributor.authorTingrui Zhangen_US
dc.date.accessioned2023-06-22T09:49:07Z-
dc.date.available2023-06-22T09:49:07Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78111-
dc.description.abstractStreptococcus uberis is a common bovine mastitis pathogen in dairy cattle. The reduced success of antibiotic treatment for S. uberis intramammary infection (IMI) may be associated with the antimicrobial resistance (AMR) of these bacteria. This study aimed to analyze 228 S. uberis strains associated with bovine mastitis in northern Thailand from 2010 to 2017. AMR and AMR genes were determined by minimum inhibitory concentration (MIC) using a microdilution method and polymerase chain reaction, respectively. The majority of S. uberis were resistant to tetracycline (187/228, 82.02%), ceftiofur (44/228, 19.30%), and erythromycin (19/228, 8.33%). The MIC50 and MIC90 of ceftiofur and penicillin G in 2017 were two- to three-fold higher than those in 2010. A trend analysis indicated that resistance to tetracycline and ceftiofur significantly increased during 2010-2017. The most common gene detected in S. uberis was tetM (199/228,87.28%), followed by ermB (151/228, 66.23 %) and blaZ (15/228, 6.58 %). Association between the resistance to tetracycline and the detection of tetM tetL were statistically significant (P<0.01). Trend analysis revealed that the detection rates of tetM and mefA significantly increased, while the detection rates of tetO and ermB significantly decreased during 2010-2017. AMR monitoring for bovine mastitis pathogens, especially S. uberis, is necessary to understand the trend of AMR among mastitis pathogens, which can help create an AMR stewardship program for dairy farms in Thailand. The rapid identification and characterization of the AMR of S. uberis play an important role in diagnosis and prevention. This will greatly shorten the decision-making time of veterinarians and farmers. In this study, matrix-assisted laser desorption ionization-time of flight mass spectrometry (MALDI-TOF MS) was used to screen for biomarkers of S. uberis to predict AMR. The principal component analysis (PCA) method was used to analyze the MALDI-TOF mass spectrum of S. uberis to try to distinguish the difference between antimicrobial resistance and susceptible strains. However, the results did not show a significant difference. This may be due to the size of the target protein molecules and the small number of samples. Analysis of MALDI-TOF MS to distinguish different strains of S. uberis needs to be further investigated.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectBovine mastitisen_US
dc.subjectStreptococcus uberisen_US
dc.subjectMICen_US
dc.subjectAMR trenden_US
dc.subjectMALDI-TOFen_US
dc.titleEpidemiology of antimicrobial resistant Streptococcus Uberis associated with bovine mastitisen_US
dc.title.alternativeระบาดวิทยาของเชื้อ Streptococcus uberis ที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพที่ เกี่ยวข้องกับเต้านมอักเสบในโคen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCows- -- Diseases-
thailis.controlvocab.lcshStreptococcus Uberis-
thailis.controlvocab.lcshAntibiotics-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส เป็นเชื้อก่อโรคเต้านมอักเสบที่พบบ่อยในโคนม ความสำเร็จของการรักษาการติดเชื้อเข้าสู่เค้านมจากเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส อาจกี่ยวข้องกับการดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ของแบคทีเรียชนิดนี้การศึกษานี้มีเป้าหมายเพื่อวิเคราะห์เชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส ที่เกี่ยวข้องกับเต้านมอักเสบในโคนมในภาคเหนือของประเทศไทย ที่เพาะแยกได้จากช่วงปีพ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2560 โดยทำการตรวจสอบการดื้อต่อยาปฏิชีวนะด้วยการตรวจหาความเข้มข้นต่ำสุดของยาปฏิชีวนะที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ และทำการตรวจหายีนดื้อยาด้วยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่ไพลีมอเรส ผลการศึกษา พบว่า เชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส ส่วนใหญ่ดื้อต่อยาเตตร้าชัยคลิน (187/228, 82.02% ) เซฟทีโอเฟอร์ (44/228, 19.30%) และเออริโทรมัยชิน (19/228,8.33%) ความเข้มข้นต่ำสุดของยาเซฟกิโอเฟอร์ และเพนนิซิลลิน จี ที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ร้อยละ 50 และร้อยละ 90 ของเชื้อที่เพาะแยกได้ในปีพ.ศ. 2560 พบว่า มีต่ำความเข้มข้นสูงกว่าค่าดังกล่าวของเชื้อที่เพาะแยกได้ในปีพ.ศ. 2553 อยู่สองถึงสามเท่า ยีนดื้อยาที่พบมากที่สุดคือ tetM (199/228, 87.28%) ตามด้วยermB (151/228, 66.23 %) และ blaZ (15/228, 6.58 %) และพบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญระหว่างการดื้อต่อยาเดตร้าซัยคลิน และการตรวจพบยีน tetM tetL (P<0.01) ผลการวิเคราะห์แนวโน้มของการตรวจพบยีนดื้อยาในช่วงปีพ.ศ. 2553 ถึง 2560 พบว่า การตรวจพบยีน tetM และ mefA มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่การตรวจพบยีน tetO และ ermB มีแนวโน้มลดลงอย่างมีนัยสำคัญ การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อก่อโรคเต้านมอักเสบในโค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส มีความจำป็นต่อความเข้าใจแนวโน้มการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อเหล่านี้ ซึ่งสามารถช่วยสร้างโปรแกรมการดูแลการดื้อต่อยาปฏิชีวนะสำหรับฟาร์มโคนมในประเทศไทยต่อไปได้วิธีการตรวจแยกแยะและระบุลักษณะการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส ที่รวดเร็วมีบทบาทสำคัญในการวินิจฉัยและการป้องกันโรค ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาที่สัตวแพทย์และเกษตรกรต้องใช้ในการตัดสินใจต่างๆ ในการศึกษานี้ ได้นำเครื่องมือ matrix-assisted laser desorption ionization-time of flight mass spectrometry (MALDI-TOF MS) มาใช้ตรวจหาสิ่งบ่งชี้ทางชีวภาพของเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส เพื่อทำนายการดื้อต่อยาปฏิชีวนะ และใช้วิธี principal component analysis (PCA) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสเปคตรัมของ MALDI-TOF ของเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริส เพื่อพยายามแยกแยะความแตกต่างระหว่างเชื้อที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ และเชื้อที่ไวต่อยาปฏิชีวนะ อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในการศึกษานี้ ซึ่งอาจเกิดจากขนาดของโมเลกุลโปรตีนเป้าหมาย และขนาดตัวอย่างเชื้อที่น้อยกินไปได้ การวิคราะห์เชื้อด้วย MALDI-TOF MS เพื่อแยกแยะชนิดของเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ยูเบอริสจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไปen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591455801 Zhang Tingrui Zhang.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.